คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
บทที่ 2.
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับ
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
ความคาดหวังของเขตสุขภาพต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
Pass:
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สกลนครโมเดล.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
รายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานโครงการสำคัญ โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ การดำเนินงาน คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ

มีภาวะเสี่ยงแม่และลูก* นัดติดตามที่คลินิกสุขภาพเด็กดี การให้บริการ การประเมินภาวะเสี่ยง และการนัดติดตามในทารกแรกเกิด-อายุ 7 วัน ทารกแรกเกิด -7 วัน - ซักประวัติ - ตรวจร่างกายและชั่งน้ำหนัก, วัดส่วนสูง,วัดรอบศีรษะ,วัดรอบอก - รับวัคซีน ,ให้คำแนะนำและสังเกตอาการนาน 30 นาที - ประเมินภาวะเสี่ยงแม่และลูก* ● โรงเรียนพ่อแม่ 1. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 2. แนะนำการใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 3. พัฒนาการตามวัย การเล่นและการส่งเสริมพัฒนาการ 4. อุบัติเหตุตามวัย 5. ภาวะเสี่ยงแม่และลูก* ตรวจคัดกรอง TSH** มีภาวะเสี่ยงแม่และลูก* ตรวจเพิ่มเติมตามข้อบ่งชี้ที่มีภาวะเสี่ยง นัดติดตามที่ High Risk clinic หรือ คลินิกนมแม่ หรือคลินิกสุขภาพเด็กดี เมื่ออายุ 1 เดือน นัดติดตามที่คลินิกสุขภาพเด็กดี เมื่ออายุ 2 เดือน กลับบ้าน

การให้บริการคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ ซักประวัติ ประเมินการเจริญเติบโตโดยผู้ปกครอง (วัดชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง วัดรอบ ศีรษะ ลงบันทึกการ เจริญเติบโต แนะนำ) วัดความดันโลหิต (อายุ 4 ปี) ประเมินพัฒนาการ พฤติกรรม ประเมินคัดกรองโรคออทิซึม(กรณีสงสัย) แนะนำการส่งเสริมพัฒนาการ กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ ให้คำแนะนำล่วงหน้า 1.โภชนาการและอาหารตามวัย/นมแม่ 2. พัฒนาการตามวัย การเล่นและการส่งเสริมพัฒนาการ 3. อุบัติเหตุตามวัย ปกติ ผิดปกติ กระตุ้นและนัด 1 เดือน ประเมินซ้ำ 1. ตรวจร่างกายทุกระบบ ตรวจการได้ยิน 2. ตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน : เด็กอายุ 6เดือน,9-12 เดือน, 1 ปีครึ่ง,2 ปี,3ปี,4 ปี 3. ตรวจตา :อายุ 6 เดือน, 4ปี 4. Hb/Hct/CBC :อายุ 6-12 เดือน 5. UA : อายุ 4 ปี 6. จ่ายยาเสริมธาตุเหล็ก :อายุ 6 เดือน – 5 ปี ส่งล่าช้า แนะนำ นัดคลินิกกระตุ้น นัดคลินิกนมแม่** พบแพทย์/พยาบาล ส่งต่อกรณีผิดปกติ รับวัคซีน ให้คำแนะนำ สังเกตอาการนาน 30 นาที นัดหมายครั้งต่อไป กลับบ้าน

กรอบแนวคิดการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด -5 ปี เครื่องมือการดำเนินงาน แบบคัดกรองพัฒนาการอนามัย 55 (กรมอนามัย) หน่วยงาน/ผู้ให้บริการ หน่วยบริการสาธารณสุข (รพ.สต.) ทั่วประเทศ คัดกรองพัฒนาการเด็ก วัยแรกเกิด - 5 ปี สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55) 2ก 2ล (กรมอนามัยและ กรมสุขภาพจิต พัฒนาการ สมวัยหรือไม่ สมวัย ส่งเสริมพัฒนาการ ตามวัย พยาบาลใน รพ.สต. ไม่สมวัย - พยาบาลใน รพ.สต. - ผู้ปกครอง ประเมินและป้องกันพัฒนาการล่าช้า ระยะเวลา 1 เดือน คู่มือประเมินและป้องกันพัฒนาการล่าช้าเด็ก แรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (TDSI: 70 ข้อ) กรมสุขภาพจิต คู่มือกระตุ้นพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับ ผู้ปกครอบ(TDSI : 70 ข้อ)กรมสุขภาพจิต

แบบประเมินและป้องกันพัฒนาการล่าช้า เด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (TDSI : 70 ข้อ)กรมสุขภาพจิต พยาบาลใน รพ.สต. ประเมินพัฒนาการล่าช้า สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55) 2ก 2ล (กรมอนามัยและ กรมสุขภาพจิต พัฒนาการ ดีขึ้นหรือไม่ ดีขึ้น พยาบาลใน รพ.สต. ส่งเสริมพัฒนาการ ตามวัย หน่วยบริการสาธารณสุข (รพศ.ทั่วประเทศ) พยาบาลใน รพช. กุมารแพทย์ (ถ้ามี) ไม่ดีขึ้น ประเมินและแก้ไขพัฒนาการ ระยะเวลา 3 เดือน และ/หรือวินิจฉัยเพิ่มเติม/อื่นๆ คู่มือประเมินและแก้ไขพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (DSI : 300 ข้อ) กรมสุขภาพจิต

-ตรวจวินิจฉัย/แบบประเมินและแก้ไข ปัญหาเพิ่มเติมตามปัญหาที่ส่งต่อ พัฒนาการ ดีขึ้นหรือไม่ พยาบาลใน รพช. ดีขึ้น ส่งกลับ รพ.สต.ดูแล ต่อเนื่อง -ตรวจวินิจฉัย/แบบประเมินและแก้ไข ปัญหาเพิ่มเติมตามปัญหาที่ส่งต่อ CPG รายโรค คู่มือประเมินและแก้ไขพัฒนาการเด็ก แรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข(DSI :300 ข้อ) (กรมสุขภาพจิต) หน่วยบริการสาธารณสุข (รพศ/รพท. ทั่วประเทศ) กุมารแพทย์ จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น (ถ้ามี) ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) วินิจฉัยประเมินและแก้ไขพัฒนาการ และ/ หรือให้การรักษาเพิ่มเติม ดีขึ้นหรือไม่ ดีขึ้น ไม่ดีขึ้น หน่วยบริการสาธารณสุข (รพจ. สังกัดกรมสุขภาพจิต) -จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น กุมารแพทย์ด้านพัฒนาการและพฤติกรรม ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) แบบประเมินและแก้ไขปัญหาของแต่ละวิชาชีพ CPG รายโรค คู่มือประเมินและแก้ไขพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (DSI : 643 ข้อ) (กรมสุขภาพจิต) ตรวจวินิจฉัยและ ให้การรักษาเพิ่มเติม (เฉพาะทาง)