KM : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Knowledge Management (KM)
“จากงานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research R2R) :
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้
การจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ มทส.
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
แนะนำวิทยากร.
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
Knowledge Management (KM)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
สร้างพลังเครือข่าย R2R
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
การวิจัยในงานประจำ.
วทน. กับสังคม เรียนรู้ วิจารณ์ พานิช มูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อ สังคม ( สคส.)
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
การสร้างและจัดการภูมิปัญญา การแพทย์พื้นบ้าน วิจารณ์ พานิช ยุทธศาสตร์การทำงานของกรมฯ.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

KM : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย MAHIDOL UNIVERSITY Wisdom of the Land KM : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย แนวคิด ทฤษฎี และบทเรียนสู่ภาคปฏิบัติ วิจารณ์ พานิช http://gotoknow.org/blog/thaikm http://gotoknow.org/blog/council บรรยายในโครงการบรรยายให้ความรู้ เรื่อง “KM เติมเต็ม R2R : เสริมพลังภารกิจประจำสู่ 1 ใน 100 มหาวิทยาลัยโลก” ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๑

งานประจำ : เรื่องไม่ธรรมดา โอกาสสร้างตัว/เรียนรู้ – บุคคลเรียนรู้ โอกาสสู่ LO – Learning Organization มี SS – Success Stories – สุดยอดความรู้ มี SP – Success Person – ผู้รู้ในการปฏิบัติ จุดเริ่มต้นของการ “เดินทาง”

ฝันอันยิ่งใหญ่ คน งาน หน่วยงาน ความรู้ ความสัมพันธ์ KM งานประจำ R

R2R (Routine to Research) คืออะไร การวิจัยที่ดำเนินการโดยผู้ปฏิบัติ โจทย์วิจัยมาจากงานประจำ เพื่อพัฒนางานประจำ ผลลัพธ์ดูที่ผลต่อ “ลูกค้า” การนำผลวิจัยไปใช้ ปย. – ใช้พัฒนางานประจำ การทำ Routine Development ให้ Evidence-Based เครื่องมือพัฒนาคน ไม่มีนิยามตายตัว http://gotoknow.org/blog/thaikm/46102

ทำให้งานเป็นเครื่องมือสู่ความสุข ปัญญา และไมตรี R2R : หวังผลอะไร พัฒนางานประจำ พัฒนาคนระดับปฏิบัติการ พัฒนาองค์กร วัฒนธรรมองค์กร สู่องค์กรเรียนรู้ องค์ความรู้ขององค์กร ยกระดับขึ้น ทำให้งานเป็นเครื่องมือสู่ความสุข ปัญญา และไมตรี

ผู้เกี่ยวข้องกับ R2R : 4 ฝ่าย ผู้ปฏิบัติ ฝ่ายจัดการ R2R ฝ่ายบริหารองค์กร หน่วยสนับสนุน/เชื่อมโยงเครือข่ายระดับประเทศ : สวรส. ไม่มีสูตรตายตัว องค์กรขนาดเล็ก/ใหญ่ จัดการต่างกัน

ผู้ปฏิบัติ รวมตัวกัน คิดหาทางปรับปรุงงานอยู่ตลอดเวลา อ่านวารสารวิชาการ ทำ J Club : เพิ่ม ค. เชิงทฤษฎี ฝึกตั้งโจทย์วิจัย เรียนรู้ R Methodology, Data Management, วิธีทำโปสเตอร์เสนอผลงาน, Oral Presentation, วิธีเขียน manuscript เพื่อตีพิมพ์ จัดทีมวิจัย แบ่งโจทย์ แบ่งหน้าที่กัน โจทย์วิจัย -> Routine Data Management รวมตัวกันตั้งวง SSS : วิธีตั้งโจทย์ วิธีออกแบบการวิจัย วิธีเก็บข้อมูล วิธีวิเคราะห์ วิธีสังเคราะห์ วิธีเขียนรายงาน ฯลฯ

ทีมจัดการ R2R หน้าที่ Change Management “คุณอำนวย” (Facilitator) Coach / Trainer ช่วยให้เอาชนะความกลัว/หลงผิด จัดเวทีชี้โจทย์ / ลปรร. วิธีการ/ความสำเร็จ สังเคราะห์องค์ความรู้ Communicate กับฝ่ายบริหาร ทำ R2P/R2A

ทีมจัดการ R2R (2) ทำให้ R2R เป็นความสุข ไม่ใช่ความทุกข์/ภาระ ส่งเสริมตามศักยภาพ Dynamism ตาม/เฉพาะ กลุ่ม จัดการปลายทาง สร้างผลกระทบต่อ คน งาน องค์กร

ฝ่ายบริหารองค์กร ชื่นชมผลสำเร็จ ตั้งคำถามเชิงผลกระทบ ที่เหยาะ น้ำ ทิพย์ความชื่นชม สนับสนุนทรัพยากรอย่างเหมาะสม สนับสนุนทีม “คุณอำนวย” คอย capture R2P นำไปใช้เปลี่ยน SOP ในองค์กร ขอทราบ/เผยแพร่ ผลกระทบจาก R2R บรรจุในรายงานประจำปี ทำให้ R2R เป็น investment ไม่ใช่ cost

ฝ่ายบริหารองค์กร ชื่นชมผลสำเร็จ ตั้งคำถามเชิงผลกระทบ ที่เหยาะ น้ำ ทิพย์ความชื่นชม สนับสนุนทรัพยากรอย่างเหมาะสม สนับสนุนทีม “คุณอำนวย” คอย capture R2P นำไปใช้เปลี่ยน SOP ในองค์กร ขอทราบ/เผยแพร่ ผลกระทบจาก R2R บรรจุในรายงานประจำปี ทำให้ R2R เป็น investment ไม่ใช่ cost จัดการคุณค่า

หน่วยสนับสนุนระดับประเทศ : สวรส. สร้างกระแส R2R ด้วยมาตรการเชิงบวก จัดมหกรรม R2R แห่งชาติ ประจำปี : 2-3 ก.ค. 51 มิราเคิล www.hsri.or.th เสาะหาผลงานเด่น ในหลากหลายด้าน/บริบท เชื้อเชิญมา ลปรร. จัด ลปรร. ผู้ปฏิบัติ / คุณอำนวย / ผู้บริหาร ยกย่องผลงานเด่น เผยแพร่เคล็ดลับ ส่งเสริมการจัดฝึกอบรมเทคนิค ให้ scholarship แก่ผู้แสดงท่าว่าเอาจริง Capture โจทย์วิจัยต่อยอดผลงาน R2R ในเรื่องที่ Impact ต่อสังคมสูง ประกาศให้ทุน Capture ผลกระทบต่อระบบสุขภาพ (จัดการคุณค่า)

หน่วยสนับสนุนระดับประเทศ : UKM นอกเหนือจากด้านสุขภาวะ เครือข่าย ลปรร. SS ยังไม่ได้ใช้พลังของ ICT ยังไม่ได้ใช้พลังของการจัดการ SS & AI ยังมองแค่ R2R ในระดับ micro / หน่วยงานเล็กๆ

แนวทางจัดการในองค์กร ไม่มีสูตรสำเร็จตายตัว Structured vs. Unstructured Proactive vs. Supportive Management Result-oriented vs. Culture Change oriented Integrate อยู่กับการจัดการงานวิจัยทั่วไป vs. แยกการจัดการ เริ่มต้นที่การกำหนดเป้าหมาย แล้วจัดระบบ มีวิธีจัดการให้เชื่อมโยงกับภารกิจหลัก & การจัดการทั่วไป

แนวทางจัดการในองค์กร (2) ยังไม่ได้ใช้ ICT ยังไม่ได้ใช้ SSS / AI / Reward บน ICT ยังไม่ได้จัด Directed & Multi-Center R2R

R2R ไม่ได้ลอยอยู่โดดๆ เชื่อมโยงกับ การพัฒนาคุณภาพ HRD สร้างคน UM – Utilization Management Corporate Culture Development การแข่งขัน ร่วมมือ ความสำเร็จขององค์กร

R2R ไม่ได้ลอยอยู่โดดๆ (2) เชื่อมโยงกับเครื่องมืออื่น Bio-social Research Qualitative Research Action Research KM CQI TQA

ใช้ KM ส่งเสริม R2R R2R ศิริราชมีประสบการณ์ตรง ใช้ SST – SSS ใช้เครื่องมือ Storytelling / Appreciative Inquiry / Dialogue / Note-Taking หมุน “เกลียวความรู้” เกี่ยวกับ R2R/R ด้วย SECI

ความรู้ 2 ยุค ยุคที่ 1 ยุคที่ 2 โดยนักวิชาการ ค. เฉพาะสาขา เน้นเหตุผล พิสูจน์ได้ เป็นวิทยาศาสตร์ ค. เฉพาะสาขา เน้น explicit K ยุคที่ 2 โดยผู้ปฏิบัติ เน้นประสบการณ์ตรง เน้นผลลัพธ์ที่งาน คน ค. บูรณาการ เน้น tacit K เสริมกัน วิจัย KM

ต้องรู้จักใช้ ค. ทั้งสองประเภท อย่างสมดุล ความรู้ 2 ประเภท ค. ในคน Tacit K อยู่ในสมองคน เชื่อมโยงกับประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาได้ทั้งหมด context - specific ค. ในกระดาษ Explicit/Codified K อยู่ในตำรา เอกสาร วารสาร คู่มือ คำอธิบาย วีซีดี คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูล. context - free ต้องรู้จักใช้ ค. ทั้งสองประเภท อย่างสมดุล ค. เป็นทั้ง TK & EK

การสร้างความรู้ ๒ แนว วิจัย จค. ปัญหา ความ สำเร็จ ความรู้

จากความรู้ปฏิบัติ สู่ความรู้เชิงทฤษฎี R R KM ปัญหา EK TK ความสำเร็จ ในหลายบริบท R data ใช้ทฤษฎีเข้าจับ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็น generic knowledge

ตัวอย่าง : โรงเรียนชาวนา นักวิจัย EK TK ผลิตข้าวปลอดสารพิษ ลปรร. data collection, analysis, synthesis capture, apply, share, store, leverage, etc.

ตัวอย่าง : การลดเวลาสื่อสาร นักวิจัย เจ้าหน้าที่ EK TK ลดเวลา … ลปรร. data collection, analysis, synthesis capture, apply, share, store, leverage, etc.

สรุป KM R2R CQI/HRD/CCD Big Dream ใช้ความสำเร็จ ต่อยอดความสำเร็จ มีการจัดการแบบ Empowerment