นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางสาวเบญจนี สุคันธเมศวร์
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
นางสาววราภรณ์ ว่องนัยรัตน์ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย นางสาวอาภรณ์ เทียนทอง สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
รายงานการวิจัย เรื่อง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบการส่งงาน วิชา ความรู้เกี่ยวกับสินค้า ของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการตลาด โดยการใช้เทคนิคเสริมแรงทางบวก นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

ปัญหาการวิจัย ผู้สอนควรตระหนักถึง ความสนใจ ความแตกต่างของผู้เรียนภายในชั้นเรียนว่ามี ความชอบ ความสามารถ และมีแรงจูงใจในการเรียนที่แตกต่างกัน ถ้าหากกำหนด กิจกรรมหรืองานและการกำหนดระยะเวลาการส่งงานที่รวดเร็วเกินไป นักเรียนบางคน อาจไม่สามารถส่งงานได้ตามกำหนดเวลาที่ครูกำหนดขึ้น อีกนัยหนึ่งครูควรให้เด็ก สามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามระยะเวลาที่ครูกำหนดให้พร้อมๆ กัน ซึ่งผล ของการส่งงานตรงต่อเวลา จะทำให้ผู้เรียนฝึกฝนให้ตนเองรู้จักการตรงต่อเวลา ส่งงาน ตรงตามเวลาที่ได้รับมอบหมาย และได้คะแนนกิจกรรมเสริมบทเรียนครบตามเกณฑ์ที่ ครูกำหนดขึ้น ผู้วิจัยจึงทำการศึกษาการปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบการส่งงานวิชา ความรู้ เกี่ยวกับสินค้า ของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชา การตลาด ทั้งนี้ เพื่อนำข้อมูลที่ได้รับไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมความรับผิดชอบการส่งงานที่ดี ขึ้น โดยใช้เทคนิคการเสริมแรงทางบวก

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบการส่งงานวิชา ความรู้เกี่ยวกับสินค้า ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการตลาด โดยการใช้เทคนิคเสริมแรงทางบวก กรอบแนวความคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น เทคนิคเสริมแรงทางบวก ตัวแปรตาม พฤติกรรมการส่งงาน

สมมติฐานในการวิจัย นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการตลาด โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย มีพฤติกรรมการส่งงานมากขึ้นและตรงต่อเวลา หลังจากได้รับเทคนิคเสริมแรงทางบวก กลุ่มเป้าหมาย ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชี วิทยาลัย จำนวน 30 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบบันทึกพฤติกรรมการส่งงาน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสินค้าและบริการ การจัดคุณภาพและมาตรฐานของสินค้าและบริการ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค ทรัพย์สินทางปัญญา บทบาทและนโยบายของรัฐบาลที่มีต่อสินค้าและบริการ ความรู้เกี่ยวกับสินค้าเกษตรและสินค้าเกษตรแปรรูป ความรู้เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม ความรู้เกี่ยวกับสินค้าประเภทบริการ

การรวบรวมข้อมูล ชี้แจงถึงข้อกำหนดที่ได้ทำขึ้นและตกลงกับนักเรียนให้เข้าใจ ดำเนินการเรียนการสอนตามปกติ โดยใช้ข้อกำหนดที่ได้ตกลงไว้กับนักเรียน ทำการบันทึกพฤติกรรมการส่งงานในเครื่องมือที่จัดทำขึ้น  หลังจากนั้นทุกๆครั้งที่ทำการสอนจะใช้เทคนิคการเสริมแรงทางบวก เช่น การให้คำ ชมเชย การให้คะแนนส่งงาน และถ้าส่งตรงเวลา มีการเพิ่มคะแนน ทำการบันทึกพฤติกรรมการส่งงานในเครื่องมือที่จัดทำขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากการให้ แรงเสริม นำข้อมูลจากการส่งงานมาเปรียบเทียบ ก่อนการให้แรงเสริมกับหลังจากการให้แรง เสริม

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ผู้วิจัยได้ดำเนินการทำวิจัยตามขั้นตอนต่างๆ ที่เตรียมไว้และนำไปใช้กับนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ห้อง EM01 ในรายวิชา ความรู้เกี่ยวกับสินค้า ในภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2556 นักเรียนจำนวน 30 คน ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ ลำดับที่ เรื่อง จำนวนนักเรียนที่ส่งงาน คิดเป็นร้อยละ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสินค้าและบริการ 20 66.7 2 การจัดคุณภาพและมาตรฐานของสินค้าและบริการ 24 80.0 3 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค 25 83.3 4 ทรัพย์สินทางปัญญา 28 93.3 5 บทบาทและนโยบายของรัฐบาลที่มีต่อสินค้าและบริการ 30 100.0 6 ความรู้เกี่ยวกับสินค้าเกษตรและสินค้าเกษตรแปรรูป 7 ความรู้เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม 8 ความรู้เกี่ยวกับสินค้าประเภทบริการ

สรุปผลการวิจัย นักเรียนทั้งหมด 30 คน มีการส่งงานในการเรียนบทที่ 1 เรื่องความรู้ พื้นฐานเกี่ยวกับสินค้าและบริการ 20 คน และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ ส่งงานจนครบทุกคนตั้งแต่ในบทเรียนที่ 5 เป็นต้นไป คิดเป็นร้อยละ 100.0