บทที่ 6 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : ข้อมูลทุติยภูมิ
วัตถุประสงค์ เพื่อเข้าใจถึงข้อดีและข้อเสียของการใช้ข้อมูลทุติยภูมิ เพื่อศึกษาลักษณะของข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ เพื่อเข้าใจถึงข้อดีและข้อเสียของการใช้ข้อมูลทุติยภูมิ เพื่อศึกษาถึงเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินข้อมูลทุติยภูมิ เพื่อทราบถึงประเภทของข้อมูล
ความหมาย ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่นักวิจัยเป็นผู้สร้างตั้งแต่เริ่มแรกสำหรับเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจง ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้ถูกรวบรวมไว้แล้ว โดยมีเป้าหมายที่ไม่ใช่เพื่อแก้ปัญหาที่มีในปัจจุบัน
ข้อดีข้อเสียของข้อมูลทุติยภูมิ ประหยัดเวลาและเงิน ข้อด้อย คุณค่าของข้อมูลมักจำกัดอยู่ที่ระดับของความสอดคล้องกับปัญหาวิจัยที่มี ความถูกต้องของข้อมูล ความทันสมัย ความสอดคล้องของหน่วยวัด
เกณฑ์สำหรับการประเมินข้อมูลทุติยภูมิ ข้อผิดพลาด : ความถูกต้องของข้อมูล-หาหลายๆ แหล่งเปรียบเทียบ ความทันสมัย : เวลาที่ข้อมูลถูกรวบรวม วัตถุประสงค์ : วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการศึกษา ธรรมชาติ : เนื้อหาของข้อมูล
ประเภทของข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลภายใน - คลังข้อมูล (Data warehouse) : ฐานข้อมูลศูนย์กลาง - ฐานข้อมูลลูกค้า (Customer database) : ข้อมูลการขาย - การขุดหาข้อมูล (Data mining) - การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer relationship management) : ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้สำหรับการจัดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์การและลูกค้า - การตลาดจากฐานข้อมูล (Database marketing) : การใช้ฐานข้อมูล CRM ข้อมูลภายนอก - แหล่งธุรกิจทั่วไป - ข้อมูลสถิติที่ไม่ใช่ของรัฐบาล - แหล่งรัฐบาลและหน่วยงานของรัฐบาล