วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย ถนนสนามบิน อ.เมือง จ.เชียงราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
Advertisements

โครงการจัดตั้งภาควิชาอุตสาหกรรมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ก้าวไกลสู่มาตรฐานวิชาชีพ
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ความพึงพอใจของผู้ประกอบการและ หัวหน้าหน่วยงานรัฐบาลต่อผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอุตรดิตถ์เทคโนโลยี นางรัตดา บัวใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
ชื่อเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการกล้าแสดงออก โดยการจัดการเรียนรู้แบบ
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางศิริพร ไตรเนตร
นางรัชนี กิจฉวี วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นายกิจชัย วงศ์ราช วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.

นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
อาจารย์นริสรา คลองขุด
นางสาววรันธร ปรุงเรณู
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ความพึงพอใจของสถานประกอบการ ที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักศึกษาฝึกงาน ปวส.1 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
นายทัศนชัย เหน็บบัว โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาววรรณนิกา บุญประเสริฐ
ชื่อเรื่อง. ผลการติดตามลักษณะการมีงานทำ ภายใน 1 ปี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย ลัดดา เสาร์เป็ง
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย ถนนสนามบิน อ.เมือง จ.เชียงราย ภาพลักษณ์ของผู้สำเร็จการศึกษาสายอาชีพ ตามทัศนะของผู้ประกอบการ ในจังหวัดเชียงราย นางจิรพร ยะวัง วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย ถนนสนามบิน อ.เมือง จ.เชียงราย

ปัญหาการวิจัย -ภาพลักษณ์ด้านใดของบุคลากรที่ผู้ประกอบการต้องการ ประเด็นการศึกษา - ด้านหลักสูตรการเรียนการสอนสายอาชีพ - ด้านทักษะการทำงานด้านวิชาชีพ - ทักษะการบริหารจัดการทั่วไป - ด้านบุคลิกภาพ - ด้านจรรยาบรรณวิชาชีพ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของผู้สำเร็จการศึกษาสายอาชีพ ตามทัศนะของผู้ประกอบการในจังหวัดเชียงรายด้านหลักสูตรการเรียนการสอนสายอาชีพ ด้านทักษะการทำงานด้านวิชาชีพ ด้านทักษะการบริหารจัดการทั่วไป ด้านบุคลิกภาพ และด้านจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.เพื่อเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของผู้สำเร็จการศึกษา สายอาชีพ ตามทัศนะของผู้ประกอบการในจังหวัดเชียงราย ด้านหลักสูตรการเรียนการสอนสายอาชีพด้านทักษะการทำงานด้านวิชาชีพ ด้านทักษะการบริหารจัดการทั่วไป ด้านบุคลิกภาพ และด้านจรรยาบรรณวิชาชีพ จำแนกตามความแตกต่างทางด้านเพศ ประเภทของสถานประกอบการ จำนวนบุคลากรในสถานประกอบการและฝ่าย/แผนกที่ผู้สำเร็จการศึกษาสายอาชีพปฏิบัติงานในสถานประกอบการ

ภาพลักษณ์โดยรวม X S.D. ความเห็น ตารางแสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์โดยรวม ภาพลักษณ์โดยรวม X S.D. ความเห็น 1. ด้านหลักสูตรการเรียนการสอนสายอาชีพ 4.19 0.84 มาก 2. ทักษะการบริหารจัดการทั่วไป ด้านการทำงานป็นทีม 4.11 0.77 มาก 3. ด้านบุคลิกภาพ 4.10 0.79 มาก 4. ด้านจรรยาบรรณวิชาชีพ 4.10 0.84 มาก 5. ทักษะในการทำงาน ด้านวิชาชีพ 4.09 0.77 มาก 6. ทักษะการบริหารจัดการทั่วไป ด้านการติดต่อสื่อสาร 4.08 0.81 มาก

ภาพลักษณ์โดยรวม ความเห็น ค่าเฉลี่ย ตารางสรุปความเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์ของผู้ประกอบการที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษาสายอาชีพ ภาพลักษณ์โดยรวม ความเห็น ค่าเฉลี่ย 1. ด้านหลักสูตรการเรียน การสอนสายอาชีพ มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี 4.30 2. ทักษะการทำงานด้าน วิชาชีพ มีคุณสมบัติ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสาขาวิชาชีพเฉพาะด้าน 4.20 3.ทักษะการบริหารจัดการ ทั่วไปด้านการทำงานเป็นทีม มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 4.19 4.ทักษะการบริหารจัดการ ทั่วไปด้านการติดต่อสื่อสาร สามารถสื่อสารข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับงานได้ถูกต้อง 5.ด้านบุคลิกภาพ มีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตที่ดี 6. ด้านจรรยาบรรณวิชาชีพ ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของสถานประกอบการ 4.14

(แตกต่าง X , ไม่แตกต่าง ) ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของผู้ประกอบการที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษาสายอาชีพ ภาพลักษณ์ (แตกต่าง X , ไม่แตกต่าง ) เพศ ประเภท สถานประกอบการ จำนวนบุคลากร ฝ่าย/แผนก 1. ด้านหลักสูตรการเรียนการสอนสายอาชีพ  X 2. ด้านทักษะการทำงานด้าน วิชาชีพ 3. การบริหารจัดการทั่วไป ด้านการจัดการเป็นทีม 4. การบริหารจัดการทั่วไป ด้านการติดต่อสื่อสาร 5. ด้านบุคลิกภาพ 6. ด้านจรรยาบรรณวิชาชีพ

สรุปผลการวิจัย ภาพลักษณ์ของผู้สำเร็จการศึกษาสายอาชีพ ตามทัศนะของผู้ประกอบการในจังหวัดเชียงราย ด้านหลักสูตรการเรียนการสอนสายอาชีพ พบว่า เป็นผู้ที่มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีความรู้ที่ทันสมัยสอดคล้องกับ ความต้องการของผู้ประกอบการ ภาพลักษณ์ด้านทักษะการทำงานด้านวิชาชีพ พบว่า มีคุณสมบัติและมีความรู้เกี่ยวกับหลักการทำงานพื้นฐานในงานอาชีพ ภาพลักษณ์ด้านทักษะการบริหารจัดการทั่วไป ด้านการทำงานเป็นทีม พบว่ามีความสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีและมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นที่ เป็นประโยชน์ต่อทีมงาน

สรุปผลการวิจัย ภาพลักษณ์ด้านทักษะการบริหารจัดการทั่วไป ด้านการติดต่อสื่อสาร พบว่า สามารถสื่อสารข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับงานได้ถูกต้องและสื่อสาร ข้อมูลที่เหมาะสมกับเนื้อหา บุคคลและสถานที่ ภาพลักษณ์ด้านบุคลิกภาพ พบว่า มีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตที่ดี มีบุคลิกภาพที่เหมาะสมกับงาน ภาพลักษณ์ด้านจรรยาบรรณวิชาชีพ พบว่า สามารถปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของสถานประกอบการและ วินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม

สรุปผลการวิจัย มีความแตกต่างกันในการรับรู้ภาพลักษณ์แต่ละด้าน จากการทดสอบสมมติฐานพบว่า ประเภทของสถานประกอบการ จำนวนบุคลากรและฝ่าย/แผนกที่ผู้สำเร็จการศึกษาที่ผู้สำเร็จการศึกษาสายอาชีพปฏิบัติงานในสถานประกอบการ มีความแตกต่างกันในการรับรู้ภาพลักษณ์แต่ละด้าน

จบการนำเสนอ