ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการเงินส่วนบุคคล ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนตามรูปแบบการเรียนการสอนแบบ CCA กับการสอนแบบปกติ ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ปัญหา นักเรียน นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กระบวนการในการจัดการเรียนรู้ นักเรียน นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
วัตถุประสงค์ - เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการเงินส่วนบุคคล เรื่อง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของนักเรียนระดับประกาศนีย บัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับการเรียนรู้แบบ CCA และ การเรียนรู้แบบปกติ
กรอบแนวคิด - การจัดการเรียนการ สอนแบบ CCA สอนแบบปกติ ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น - การจัดการเรียนการ สอนแบบ CCA สอนแบบปกติ ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการเงินส่วนบุคคล เรื่อง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของนักเรียนระดับประกาศนีย บัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1
ขอบเขตการวิจัย ประชากร นักเรียน ปวช. 1 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียน ปวช. 1 จำนวน 76 คน
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - รูปแบบการเรียนการสอนแบบ CCA - แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสอนตามปกติ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - ข้อมูลเกี่ยวกับวิชากรเงินส่วนบุคคล - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
วิธีการดำเนินการวิจัย สร้างเครื่องมือและตรวจสอบเครื่องมือ นำไปทดลองใช้กับกลุ่มนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง นำมาใช้กับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการเงินส่วนบุคคลของนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบ CCAสูงกว่าการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล จากการศึกษาวิจัยพบว่าผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบ CCA มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าแบบปกติเนื่องจากกระบวนการในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสร้างองค์ความรู้ด้วยการปฏิบัติโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยการสร้างองค์ความรู้ของผู้เรียนให้เกิดขึ้น มีการฝึกปฏิบัติจนเกิดความชำนาญ และมีการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษามาส่งผลให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหารายวิชามากขึ้น
สรุปผลการวิจัย
ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษา ทำให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการเรียนรู้และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ในขณะเดียวกันผู้สอนได้แนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายและสามารถเลือกใช้ได้กับการจัด การเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ขอบคุณค่ะ