รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย SAR 2011 Part III 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โรงพยาบาลบึงกาฬ 18 พฤศจิกายน2556
บริบท ให้บริการผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังทุกระยะ โดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับ การดูแลตนเองเรื่องการชะลอไตเสื่อมในคลินิกไตเสื่อม โดยมีนักโภชนากร เภสัชกร แพทย์ พยาบาล ให้คำแนะนำ และมีการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย ซึ่ง ประกอบไป ด้วย 2 ส่วนหลักคือ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis : HD) กับ การล้างไตทางช่องท้อง (Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis : CAPD)
กระบวนการการประเมินสภาพผู้ป่วย กระบวนการการวางแผนก่อนการรักษา การล้างไตทางช่องท้อง (Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis : CAPD) เตรียมเข้ารับบริการ การเตรียมข้อมูลเวชระเบียน การให้ข้อมูลการดูแลตนเองเกี่ยวกับเรื่องการชะลอไตเสื่อมในคลินิก กระบวนการการประเมินสภาพผู้ป่วย การตรวจร่างกายหลักตามเกณฑ์การคัดเลือกผู้ป่วยทา CAPD ตรวจ Lab ตรวจทางรังสี กระบวนการการวางแผนก่อนการรักษา การประเมินผู้ป่วยจากคณะกรรมการ CAPD การนัดผู้ป่วยผ่าตัดวางสาย เตรียมอุปกรณ์ในการวางสายล้างไตท้องช่องท้อง
กระบวนการจำหน่ายและดูแลต่อเนื่อง การล้างไตทางช่องท้อง (Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis : CAPD) กระบวนการ การให้การรักษา การวางสายล้างไตล้างไตทางช่องท้อง การสอนผู้ป่วยตาม CAPD Training Program การติดตามเฝ้าระวังและประเมินผลการล้างไตทางช่องท้อง กระบวนการจำหน่ายและดูแลต่อเนื่อง Retraining CAPD Program Home visit/Call visit การนัดตรวจทุก 1-2 เดือนเพื่อรับยาและคาแนะนาในการปฏิบัติตัวที่บ้าน กระบวนการจำหน่าย การให้คาแนะนาก่อนทาการล้างไตทางช่องท้องด้วยตนเองที่บ้าน การฝึกสอนตาม CAPD Training Program การเปลี่ยนแผนการรักษาไปสู่ HD การผ่าตัดเปลี่ยนไต หรือคนไข้เสียชีวิต
เริ่มให้บริการเมื่อ กุมภาพันธ์ 2554 เริ่มแรกมีผู้รับบริการ 20 คน ผลการดำเนินงาน CAPD เริ่มให้บริการเมื่อ กุมภาพันธ์ 2554 เริ่มแรกมีผู้รับบริการ 20 คน ต่อมามีผู้รับบริการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ปัจจุบันมีผู้ป่วย 84 คน สามารถดูแลตนเองได้ดีจำนวน 60 คน โอกาสพัฒนาของการดูแลผู้ป่วยคือติดตามเยี่ยมบ้าน สร้างเครือข่ายการดูแลผู้ป่วย CAPD และจัดตั้ง CKD Clinic ชะลอไตเสื่อม
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis ; HD) การรับและประเมินผู้ป่วย ประเมินผู้ป่วยก่อนฟอกเลือด เตรียมเครื่องไตเทียม ตรวจสอบระบบน้าบริสุทธิ์ การเตรียมและตรวจสอบ อุปกรณ์ไตเทียม เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เตรียมเจ้าหน้าที่ การบริการ ขณะฟอกเลือด อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยขณะฟอกเลือด Monitor การทางานของเครื่องไตเทียม การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน การให้ยา การบริการ หลังการฟอกเลือด อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยหลังฟอกเลือด BW.post HD ประเมิน Vascular access การให้คาแนะนาก่อนกลับบ้าน การนัดฟอกเลือดครั้งต่อไป เสริมสร้างสุขภาพผู้ป่วย เสริมสร้างสุขภาพผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ส่งเสริมครอบครัวให้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
ผลการดาเนินงานการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม เริ่มให้บริการเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2552 เริ่มแรกมีผู้รับบริการ 4 คน ต่อมามีผู้รับบริการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ปัจจุบันมีผู้ป่วย Acute 5 คน Chronic 55 คน สามารถดูแลตนเองได้ดี โอกาสพัฒนาของการดูแลผู้ป่วยคือ พัฒนาเครือข่าย CKD clinic และพัฒนาศักยภาพของบุคลากร
1. การพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับ การบำบัดทดแทนไต (CAPD) ผลการพัฒนาที่สำคัญ 1. การพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับ การบำบัดทดแทนไต (CAPD) 2. การพัฒนาเครือข่ายการดูแลโรคไตเรื้อรัง จังหวัดบึงกาฬ 3. ผู้ป่วยได้รับการเปลี่ยนไต จำนวน 2 ราย
ข้อมูล/ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2553 2554 2555 อัตราของผู้ป่วยฟอกเลือดประจำได้รับการฟอกเลือดอย่างพอเพียง >65% NA 68.25 60.43 65.22 ร้อยละผู้ป่วยที่ฟอกเลือดได้รับการประเมินอย่างถูกต้องครบถ้วน 100% 100 ความพึงพอใจผู้รับบริการ HD >80% 82.42 80.24 76.75 ความพึงพอใจผู้รับบริการ CAPD 81.01 80.27 78.49 Peritonitis rate (Pt.mo/episode) - 11.3 25.6 Exit site infection (Pt.mo/episode) 39.5 113 Mortality rate (%) 37.5 17.8 Dropout rate (%) 50 22.2
ประเด็นในแผนการพัฒนา มาตรฐาน Score ประเด็นในแผนการพัฒนา 1-2 ปีข้างหน้า 87.การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย 3 -โครงการเพิ่มความครอบคลุมในการรักษาบำบัดทดแทนไตครอบคลุมผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย จังหวัดบึงกาฬ - คลินิกโรคไตเรื้อรังคุณภาพ ลดการดำเนินโรคได้อย่างเห็นผลสัมฤทธิ์ - เป็นศูนย์กลาง RRT ของจังหวัดบึงกาฬ
ขอบคุณค่ะ