ปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อม ขั้นตอนที่ ๑ รับแจ้งเหตุของศูนย์ประชาบดี ๑๓๐๐ ๑. กรณีวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อม ๑.๑ สอบถามข้อมูล ( ชื่อ อายุ ที่อยู่ ปัญหา ความต้องการ ฯลฯ) ๑.๒ การให้คำปรึกษาทางเลือก ๑.๓ บอกบริการของหน่วยงานต่างๆของทั้งภาครัฐและเอกชน ** (กรณีนี้จะเป็นเพียงให้คำปรึกษาไม่ได้ส่งต่อชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็ว) ๒. กรณีโครงการฝากลูกรัก ให้ พม. พ่อแม่ทดแทนเลี้ยง ๒.๑ สอบถามข้อมูลเบื้องต้น พร้อมแนะนำเรื่องเอกสารเกี่ยวกับตัวเด็กที่ต้องนำมาด้วย ๒.๒ ในกรณีที่ผู้ปกครองเด็กโทรมาเอง ต้องให้คำปรึกษาและบอกบริการของหน่วยงาน ๒.๓ นัดสถานที่รับฝากเด็ก ขั้นตอนที่ ๒ ส่งต่อชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็ว กรณีโครงการฝากลูกรัก ให้ พม. พ่อแม่ทดแทนเลี้ยง ขั้นตอนที่ ๓ การทำงานของชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็ว กรณีพบผู้ปกครองเด็กทารก ค้นหาข้อเท็จจริง และเอกสารตัวเด็กทารก การให้คำปรึกษาและบอกบริการของหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยงข้อง ฝากชั่วคราว ฝากถาวร (พม.๑) บันทึกใบแบบขอใช้บริการ-ส่งต่อ ผู้ประสบปัญหาทางสังคม ศูนย์ประชาบดี ๑๓๐๐ กรณีไม่พบผู้ปกครองเด็กทารก (เด็กถูกทอดทิ้งในที่สาธารณะ) ค้นหาข้อเท็จจริง และเอกสารตัวเด็กทารก จากผู้แจ้งหรือผู้พบเห็นเหตุการณ์ ลงบันทึกประจำวัน ที่สถานีตำรวจ ขั้นตอนที่ ๔ การประสานส่งต่อ หากพบว่าเด็กได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยรุนแรง ประสานส่งตัวเด็ก เข้าโรงพยาบาลเพื่อรับการรักษาพยาบาลทันที หลังจากนั้นให้ ประสานบ้านพักเด็กและครอบครัวมารับตัวเด็กที่โรงพยาบาล หากพบว่าเด็กไม่ได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยรุนแรง นำตัวเด็กส่งเข้า บ้านพักเด็กและครอบครัว เข้าสู่กระบวนการบ้านพักเด็กและครอบครัว โดยบ้านพักเด็กและครอบครัว ลงบันทึกในแบบฟอร์มการรับเด็กและลงรหัสประจำตัวเด็กตามประเภท (ฝากชั่วคราว/ฝากถาวร)
ปัญหาความรุนแรงใน ครอบครัว ขั้นตอนที่ ๑ รับแจ้งเหตุของศูนย์ ประชาบดี ๑๓๐๐ ขั้นตอนที่ ๒ ชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วลงพื้นที่ ลงพื้นที่ระงับเหตุหรือให้การช่วยเหลือ(หาก เข้าสถานที่เกิดเหตุไม่ได้ชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่ เร็วต้องเข้าปฏิบัติงานพร้อมกับพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามกฎหมายนั้นๆ) ขั้นตอนที่ ๔ การสานประส่งต่อ ส่งต่อ Case ให้ศูนย์ประชาบดี ๑๓๐๐/บ้านพัก เด็กฯ/ศูนย์ปฏิบัติการฯ ดำเนินการตามกระบวนการทางกฎหมาย ขั้นตอนที่ ๓ การทำงานของชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็ว ให้การช่วยเหลือเบื้องต้น เช่น นำผู้บาดเจ็บเข้ารับ การรักษา ให้คำปรึกษาแนะนำเบื้องต้น ส่งต่อ ผู้ถูกกระทำเข้ารับบริการที่บ้านพักเด็กหรือสถานรองรับ อื่นตามกลุ่มเป้าหมาย ข้อควรระวัง : กรณีชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็ว เข้าไปช่วยเหลือ ผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว ภายในเคหสถานหรือที่สถานที่เกิด เหตุ เจ้าหน้าที่ควรไปลงบันทึกประจำวันไว้เป็นหลักฐานที่สถานีตำรวจ ท้องที่เกิดเหตุ ว่าได้เข้าไปสถานที่ ดังกล่าวเพื่อระงับและช่วยเหลือผู้ถูกกระทำฯ ไม่ได้มีเจตนาบุกรุก สถานที่ และขอคัดสำเนาบันทึก ประจำวันโดยให้ร้อยเวรสำเนารับรองถูกต้องด้วย
ปัญหาผู้เสียหายจาก การค้ามนุษย์ รับแจ้งเหตุ/เบาะแส การค้ามนุษย์ ประสาน ศปคม.จังหวัด/ ตำรวจและพนักงานเจ้าหน้าที่ จัดส่งหน่วยเคลื่อนที่เร็ว ลงพื้นที่ ให้ความช่วยเหลือ เบื้องต้น - จัดหาสถานที่ที่เหมาะสม และปลอดภัย เตรียมนักสังคมสงเคราะห์/ล่าม/ ยานพาหนะ/เครื่องมือและอุปกรณ์ ที่จำเป็น สอบข้อเท็จจริง/คัดแยกผู้เสียหาย(ต่างชาติผ่านล่าม/แจ้งสิทธิที่จะได้รับ) โดยทีมสหวิชาชีพ (พนักงานสอบสวน/นักสังคมฯ/นักจิตฯลฯ) เป็นผู้เสียหายจาก การค้ามนุษย์ ประสานส่งต่อ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ไม่เป็นผู้เสียหายจาก การค้ามนุษย์ ประสาน สตม. ส่งกลับคืนสู่ ครอบครัว/สังคม สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ ๘ แห่ง - ชาย ๔ แห่ง - หญิง ๔ แห่ง บ้านพักเด็กและครอบครัว จำนวน ๗๗ แห่ง ทั่วประเทศ คน ต่างชาติ คน ไทย กรณีที่อายุเกิน ๑๘ ปี สอบถามความสมัครใจ ประสานส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นศูนย์สงเคราะห์และฝึกอาชีพ กรณีที่ต้องฝึกอาชีพต่อ ส่งกลับคืนสู่ ครอบครัว/ สังคม