การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2557 กลุ่มงานประกันสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
กรอบการบริหารจัดการงบค่าเสื่อม จำนวน 128.69 บาทต่อผู้มีสิทธิ เป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขสำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในส่วนที่จ่ายชดเชยค่าเสื่อมของสิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์ที่ใช้ในการบริการผู้ป่วยนอก บริการผู้ป่วยใน และบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยให้หน่วยบริการนำไปใช้จัดหา ด้วยการจัดซื้อ จัดจ้าง หรือเช่า เพื่อการทดแทนส่วนขาด และซ่อมบำรุงครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง ที่เสื่อมสภาพ หรือถดถอย หรือเสียหายจนไม่สามารถใช้งานได้ดังเดิม จากการให้บริการสาธารณสุขแก่ผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ทดแทนในเชิง function ของครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง)
กรอบแนวทางบริหารงบค่าเสื่อมปี 2557 (128.69 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม OP (55.10 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม IP (53.59 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม PP (20 บาทต่อผู้มีสิทธิ) หมายเหตุ (B)ไม่เกิน20% สำหรับการบริหารระดับประเทศ/เขต/จังหวัด เพื่อส่งเสริมการเพิ่มการเข้าถึงบริการและลดการส่งต่อไปใช้บริการนอกเขตพื้นที่ โดยแนวทางการจ่ายให้ผ่านความเห็นชอบจากคณุอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ตามจำนวนผู้ลงทะเบียนสิทธิ คำนวณตามสัดส่วนอัตราต่อผู้มีสิทธิของงบ OP-PP-IP ตามจำนวนผลบริการ IP (sum adjRW) ของหน่วยบริการ รวมงบค่าเสื่อมที่คำนวณตามสัดส่วน OP-PP-IP (100%) (A) โอนตรงหน่วยบริการไม่น้อยกว่า 80% (B) ไม่เกิน 20% สำหรับการบริหารระดับประเทศ/เขต/จังหวัด หน่วยบริการ
ข้อมูลที่ใช้ในการจัดสรรงบค่าเสื่อม57 สัดส่วนการแบ่ง วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ OP (55.10 บาท : ปชก.) ประชากร เดือน ต.ค.56 วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ PP (20.00 บาท : ปชก.) วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ IP (53.59 บาท : ปชก.) Sum adj. RW 10 เดือน ของปีงบประมาณที่ผ่านมา
การจัดทำแผนและการพิจารณาอนุมัติแผนการบริหารเงินค่าเสื่อม ระดับหน่วยบริการ 80% หน่วยบริการภาครัฐสังกัดอื่น (ยกเว้น สป.สธ.) / ภาคเอกชน การจัดทำแผนการบริหารเงินค่าเสื่อมไปยัง สปสช.เขต เพื่อรวบรวมเสนอให้ อปสข. พิจารณาอนุมัติ และ เบิกจ่ายเงินค่าเสื่อมให้หน่วยบริการต่อไป ยกเว้น สปสช.เขต 13 กรุงเทพมหานคร สามารถกำหนดแนวทางการบริหารงบประมาณภายในเขตได้ แต่อย่างน้อยต้องได้ข้อมูลและเงื่อนไขตามที่ สปสช. กำหนด โดยแนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. หน่วยบริการภาครัฐสังกัด สป.สธ.จัดทำแผนการบริหารเงินค่าเสื่อมเสนอให้ คปสอ. เป็นผู้พิจารณาอนุมัติ พร้อมจัดส่งรายละเอียดแผนที่ได้รับการอนุมัติให้ สสจ.รวบรวมเป็นภาพรวมระดับจังหวัด และ สสจ.สำเนาแผนภาพรวมแจ้งสปสช. เขต โดยสปสช.จะเป็นผู้โอนเงินตรงให้หน่วยบริการ ส่วนของวงเงินค่าเสื่อม เพื่อบริหารจัดการระดับประเทศ,เขต และจังหวัด ดำเนินการโดยให้ผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ระดับประเทศ/เขต/จังหวัด 20%
การกำกับติดตามการดำเนินงานงบค่าเสื่อม หน่วยบริการรายงานผลการจัดซื้อ/จัดหา ผ่านทาง Website ของสปสช. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการ / มีเงินเหลือจ่าย ระดับหน่วยบริการ หน่วยบริการ สป.สธ. ให้เป็นไปตามมติความเห็นชอบของ คปสอ. แล้วแจ้งกลับให้ สสจ. และ สปสช.เขต ทราบ หน่วยบริการภาครัฐสังกัดอื่น/เอกชน ให้แจ้ง สปสช.เขต เพื่อเสนอความเห็นชอบตามมติ อปสข. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการ / มีเงินเหลือจ่าย ระดับประเทศ/เขต/จังหวัด ให้เป็นไปตามมติเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง หรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง หากหน่วยบริการไม่สามารถดำเนินการได้ทันภายในปีงบประมาณ2557 ต้องขออนุมัติขยายเวลาดำเนินการต่อคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ ผู้พิจารณาอนุมัติแผนในแต่ละระดับข้างต้น โดยต้องขออนุมัติก่อนสิ้นปีงบประมาณ2557 พร้อมทั้งรายงานแผนการดำเนินการที่จะดำเนินการตามกำหนดใหม่ให้พิจารณาด้วย แต่ต้องไม่เกินปีงบประมาณ2558 หากหน่วยบริการที่ได้รับอนุมัติให้ขยายเวลาการดำเนินงานแล้ว และยังไม่สามารถดำเนินการตามแผนได้ ให้คณะกรรมการ หรือคุณะอนุกรรมการ ผู้พิจารณาอนุมัติแผนในแต่ละระดับข้างต้น เป็นผู้พิจารณาชี้ขาดตามความเหมาะสม แล้วแจ้งกลับผู้เกี่ยวข้องแต่ละระดับทราบ เพื่อให้ สปสช.ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
ร่างกรอบการจัดสรรงบค่าเสื่อม การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2557 50% 30% 20% รพ.55% รพ.สต45% สสอ./รพ.สต ทดแทน/ICU/OR/ service plan/แฟลต/ครุภัณฑ์ราคาแพง/ระบบส่งต่อ/blood bank/ทันตกรรมฯ/อื่นๆ ประเทศ/เขต/จังหวัด
ร่างกรอบการจัดสรรงบค่าเสื่อม ตารางที่1 ร่างการจัดสรรงบค่าเสื่อม (ร้อยละ ๘๐) ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จังหวัดเลย ลำดับ รหัสหน่วยบริการ ชื่อหน่วยบริการ งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร (1) ภาพรวมการจัดสรรระดับหน่วยบริการ รวม (5)=(3)+(4) CUP (50%) (2)=((1)*62.50%) รวม 50% (3) พัฒนา Zone (30%) (4)=((1)*37.50%) โรงพยาบาล(55%) (2.1)=((2)*55%) รพ.สต (45%) (2.2)=((2)*45%) 1 10705 รพท.เลย 8,471,946.18 2,912,231.50 2,382,734.86 5,294,966.36 3,176,979.82 2 11030 รพช.นาด้วง 2,041,490.32 701,762.30 574,169.15 1,275,931.45 765,558.87 3 11031 รพช.เชียงคาน 4,416,250.26 1,518,086.03 1,242,070.39 2,760,156.41 1,656,093.85 4 11032 รพช.ปากชม 3,151,878.78 1,083,458.33 886,465.91 1,969,924.24 1,181,954.54 5 11033 รพช.นาแห้ว 824,124.19 283,292.69 231,784.93 515,077.62 309,046.57 6 11034 รพช.ภูเรือ 1,654,911.97 568,875.99 465,443.99 1,034,319.98 620,591.99 7 11035 รพช.ท่าลี่ 2,093,628.42 719,684.77 588,832.99 1,308,517.76 785,110.66 8 11036 รพช.วังสะพุง 8,170,643.79 2,808,658.80 2,297,993.57 5,106,652.37 3,063,991.42 9 11037 รพช.ภูกระดึง 4,335,926.96 1,490,474.89 1,219,479.46 2,709,954.35 1,625,972.61 10 11038 รพช.ภูหลวง 1,835,279.17 630,877.21 516,172.27 1,147,049.48 688,229.69 11 11039 รพช.ผาขาว 3,075,877.82 1,057,333.00 865,090.64 1,922,423.64 1,153,454.18 12 11447 รพร.ด่านซ้าย 3,881,361.97 1,334,218.18 1,091,633.05 2,425,851.23 1,455,510.74 13 14133 รพช.เอราวัณ 2,946,928.34 1,013,006.62 828,823.60 1,841,830.21 1,105,098.13 รวมทั้งสิ้น 46,900,248.17 16,121,960.31 13,190,694.80 29,312,655.11 17,587,593.06
ร่างกรอบการจัดสรรงบค่าเสื่อม ตารางที่2 ร่างการจัดสรรงบค่าเสื่อม (ร้อยละ ๘๐) ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จังหวัดเลย ลำดับ รหัสหน่วยบริการ ชื่อหน่วยบริการ งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร (1) ภาพรวมการจัดสรรระดับหน่วยบริการ CUP (80%) (2) รวม 80% (3) โรงพยาบาล(55%) (2.1)=((1)*55%) รพ.สต (45%) (2.2)=((1)*45%) 1 10705 รพท.เลย 8,471,946.18 4,659,570.40 3,812,375.78 2 11030 รพช.นาด้วง 2,041,490.32 1,122,819.68 918,670.64 3 11031 รพช.เชียงคาน 4,416,250.26 2,428,937.64 1,987,312.62 4 11032 รพช.ปากชม 3,151,878.78 1,733,533.33 1,418,345.45 5 11033 รพช.นาแห้ว 824,124.19 453,268.30 370,855.89 6 11034 รพช.ภูเรือ 1,654,911.97 910,201.58 744,710.39 7 11035 รพช.ท่าลี่ 2,093,628.42 1,151,495.63 942,132.79 8 11036 รพช.วังสะพุง 8,170,643.79 4,493,854.08 3,676,789.71 9 11037 รพช.ภูกระดึง 4,335,926.96 2,384,759.83 1,951,167.13 10 11038 รพช.ภูหลวง 1,835,279.17 1,009,403.54 825,875.63 11 11039 รพช.ผาขาว 3,075,877.82 1,691,732.80 1,384,145.02 12 11447 รพร.ด่านซ้าย 3,881,361.97 2,134,749.08 1,746,612.89 13 14133 รพช.เอราวัณ 2,946,928.34 1,620,810.59 1,326,117.75 รวมทั้งสิ้น 46,900,248.17 25,795,136.49 21,105,111.68
ร่างกรอบการจัดสรรงบค่าเสื่อม
ร่างกรอบการจัดสรรงบค่าเสื่อม วิธีการจัดทำแผนงบค่าเสื่อม ปี งบประมาณ 2557 (ให้จัดทำแผน 2 ฉบับ) 1.จัดทำแผนงบค่าเสื่อมในวงเงินระดับหน่วยบริการ 50% โดยแบ่งสัดส่วน รพ. : รพ.สต. = 55% : 45% ตามตารางที่ 1 2.จัดทำแผนงบค่าเสื่อมในวงเงินระดับหน่วยบริการ 80% โดยแบ่งสัดส่วน รพ. : รพ.สต. = 55% : 45% ตามตารางที่ 2 3.ให้ทำแผนเป็นภาพรวม CUP โดยให้แบ่งเป็น 2 ช่วงชั้น ดังนี้ 1 2 1 1
ร่างกรอบการจัดสรรงบค่าเสื่อม 4. ไม่มีข้อจำกัดในการเสนอแผนงบลงทุนค่าเสื่อม แต่ควรพิจารณารายการที่เหมาะสมจำเป็นเร่งด่วน ในการให้บริการ และให้อ้างอิง Service Plan เพื่อเป็นทิศทางโดยเฉพาะที่เสนอขอในปี 58ถ้าจำเป็นควรนำเข้าแผนค่าเสื่อม 57 5. ราคาต่อหน่วย/ราคารวม ควรมากกว่า 5,000 บาท 6. แผนค่าเสื่อมให้รวบรวมเป็นเครือข่าย ส่ง 6 พฤศจิกายน 2556 ไม่รับกรณีแยกส่งระหว่าง สสอ. และ รพ. 7.กรณีที่ไม่มีความต้องการใช้งบค่าเสื่อม หรือ ต้องการใช้ไม่ครบวงเงินให้ท่านทำหนังสือแจ้งความจำนงค์มาที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย แนบมาพร้อมร่างแผนงบค่าเสื่อมฯ 8.กรณีที่ท่านต้องการครุภัณฑ์ หรือ สิ่งก่อสร้างที่มีราคาสูงเกินวงเงิน ให้หมายเหตุระบุว่าจะใช้เงินส่วนใดสมทบ 1 2 1 1
การบันทึกรายงานงบค่าเสื่อมในโปรแกรมNHSO กลุ่มงานประกันสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การบันทึกรายงานงบค่าเสื่อมในโปรแกรมNHSO
การบันทึกรายงานงบค่าเสื่อมในโปรแกรมNHSO สำหรับผู้บันทึกข้อมูล สำหรับผู้บริหาร
การบันทึกรายงานงบค่าเสื่อมในโปรแกรมNHSO สามารถดูรายงานและบันทึกข้อมูลงบค่าเสื่อม ตามหน่วยบริการ และสามารถแก้ไขข้อมูลได้ ใน การบันทึกข้อมูล
การบันทึกรายงานงบค่าเสื่อมในโปรแกรมNHSO
การบันทึกรายงานงบค่าเสื่อมในโปรแกรมNHSO
การบันทึกรายงานงบค่าเสื่อมในโปรแกรมNHSO ผู้บันทึกข้ามขั้น ตอนทำให้ข้อมูลหาย
การบันทึกรายงานงบค่าเสื่อมในโปรแกรมNHSO ปัญหาและข้อเสนอแนะ 1.ผู้บันทึกข้อมูลหลากหลาย เช่น สสจ. โรงพยาบาล สสอ. และรพ.สต.ซึ่งหากไม่ตรวจสอบอาจมีการบันทึกข้อมูลซ้ำซ้อน 2.ผู้บันทึกไม่มีความเข้าใจในการบันทึกข้อมูลในโปรแกรม ทำให้ข้อมูลไม่สมบูรณ์ 3.โปรแกรมมีความยากในการบันทึก โดยเฉพาะการกรอกข้อมูลรายการกลุ่ม หากไม่มีความรู้ก็จะเกิดความผิดพลาด
การบันทึกรายงานงบค่าเสื่อมในโปรแกรมNHSO ปัญหาและข้อเสนอแนะ 4.ขาดการติดตาม ตรวจสอบ เปลี่ยนแปลงสถานการณ์จัดซื้อ/จัดสร้างให้เป็นปัจจุบัน บางแห่งบันทึกตรวจรับครั้งเดียว ทำให้ข้อมูลการดำเนินงานขาดหายไป ข้อเสนอแนะ จะดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความเข้าใจในการดำเนินงานงบค่าเสื่อมในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 และมีการติดตาม ทั้งระดับ CUP และระดับจังหวัดทุก 3 เดือน