กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
8. นโยบายรักษาความมั่นคงของรัฐ
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
ศักยภาพความพร้อมเพื่อการแข่งขัน
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
ประชาคมอาเซียน.
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
AEC กับระบบหลักประกันสุขภาพไทย
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
1. Free flow of goods สินค้าเข้าออกประเทศเสรี -Tariff 0% and non-tariff barriers ลดอุปสรรค -Rules of origin (ROO) ผลิต สินค้าได้ตามเงื่อนไข -Trade facilitation.
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จัดเผยแพร่ โดย กองร้อยตำรวจตระเวรชายแดนที่
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
A ASEAN E ECONOMICS C COMMUNITY GO TO 31 DECEMBER 2015 FOR THAI CUSTOMS DEPARTMENT นักวิชาการศุลกากร ชำนาญการพิเศษ :
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์ ASEAN Charter and AEC Blueprints ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วัตถุประสงค์ของอาเซียน ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธรรมรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่าง ประเทศต่างๆ วัตถุประสงค์ของอาเซียน

หลักการพื้นฐานของอาเซียน การตัดสินใจโดยใช้ฉันทามติ (Consensus) การไม่แทรกแซงในกิจการภายในของกันและ กัน (Non-interference) การร่วมมือเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของ ประชาชน (Prosperity) หลักการพื้นฐานของอาเซียน

ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนที่เมืองกัวลาลัมเปอร์ ครั้งที่ 13 เมื่อ 20 พ.ย. 2549 ผู้น้าอาเซียนได้ลงนามกฎบัตรอาเซียนซึ่งเป็นเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวาง กรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร โดยมีเป้าหมาย 3 ประการ คือ -มีกฎกติกาในการทำงาน(Rules-based) -มีประสิทธิภาพ -มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง รัฐสมาชิกได้ให้สัตยาบันกฎบัตรอาเซียนครบทั้ง 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 2551 กฎบัตรอาเซียน

มุมมองกฎหมาย ถือเป็นธรรมนูญ (Constitution) ขององค์กร อาเซียน แต่จะเป็นเชิงโดยธรรมนูญที่ไม่ละเมิดอำนาจาอธิปไตยของรัฐ ภาคี (Soft constitution) มุมมองการเมือง เป็นการแสดงถึงเจตจำนงค์ทางการเมืองที่จะให้ความ ร่วมมือซึ่งกันและกันทางการเมืองระหว่างรัฐภาคี กฎบัตรอาเซียน

กฎบัตรอาเซียน มุมธรรมนูญระหว่างรัฐในอาเซียน (Constitution) เป็นการกำหนดกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อ จัดตั้งองกรค์ อาเซียน ASEAN ให้เป็นองค์การระหว่างประเทศ ที่มีความสามารถในการทำ การต่างระหว่างประเทศ ยืนยันฐานะทางกฎหมายของ ASEAN ระบุหลักการสำคัญๆ เช่น การไม่แทรกแซงกิจการภายใน, เคารพใน อธิปไตยและบูรณภาพแห่ง ดินแดน, การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี เป็นต้น สร้างระบบ Rules Based Organization ในอาเซียน จัดตั้งระบบการจัดการโครงสร้างภายใน ASEAN กฎบัตรอาเซียน

กฎบัตรอาเซียน มุมทางการเมือง ระหว่างรัฐ เจตจำนงทางการเมืองที่จะให้ความ ร่วมมือซึ่งกันและกัน วิสัยทัศน์ การรวมกันเป็นหนึ่งภายใต้ความหลากหลาย(ASEAN Solidarity) การตัดสินใจโดยใช้ฉันทามติ Consensus กฎบัตรอาเซียน

กฎบัตรอาเซียน ตัวบท

กฎบัตรอาเซียน อารัมภบท หมวดที่ 1: ความมุ่งประสงค์และหลักการ หมวดที่ 2: สภาพบุคคลตามกฎหมาย หมวดที่ 3: สมาชิกภาพ หมวดที่ 4: องค์กร หมวดที่ 5: องคภาวะที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน หมวดที่ 6: ความคุ้มกันและเอกสิทธิ์ หมวดที่ 7: การตัดสินใจ หมวดที่ 8: การระงับข้อพิพาท กฎบัตรอาเซียน

กฎบัตรอาเซียน หมวดที่ 9: งบประมาณและการเงิน หมวดที่ 10: การบริหารและขั้นตอนการดาเนินงาน หมวดที่ 11: อัตลักษณ์และสัญลักษณ์ หมวดที่ 12: ความสัมพันธ์ภายนอก หมวดที่ 13: บทบัญญัติทั่วไปและบทบัญญัติสุดท้าย ภาคผนวก 1: องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา ภาคผนวก 2: องคภาวะที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน ภาคผนวก 3: ธงอาเซียน กฎบัตรอาเซียน

ประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก AEC Blueprint การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตเดียว (Single Market & Production Base) การพัฒนาไปสู่ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน สูง (Highly Competitive Economies Region) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค มีความเท่าเทียม กันในประเทศ (Equitable Economic Development) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (Integration into Global Economy AEC Blueprint

การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตเดียว (Single Market & Production Base) โดยให้มีการเคลื่อนย้าย สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมือ และการเคลื่อนย้าย เงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ได้แก่ การยกเลิกภาษีศุลกากร การยกเลิก อุปสรรคทางการ ค้าที่ไม่ใช่ภาษี (NTBs) กำหนดมาตรฐานอาเซียน การปรับปรุงกฎว่าด้วย แหล่งกำเนิดสินค้า การอำนวยความสะดวก ทางการค้า การปรับประสานพิธีการ ศุลกากร การจัดตั้ง ASEAN Single Window ปรับประสานมาตรฐาน และลดอุปสรรค ทางเทคนิคต่อการค้า และการเปิดเสรีภาคบริการและการลงทุน

การพัฒนาไปสู่ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขันสูง (Highly Competitive Economies Region) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน ซึ่งจะให้ ความสำคัญกับประเด็นด้านนโยบายอื่นๆ ที่จะช่วย ส่งเสริมการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจ เช่น การมีกฎหมายสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาและการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน (การเงินการขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ) และความ ร่วมมือด้านพลังงาน มาตรการภาษีที่เหมาะสม (Taxation) การส่งเสริม พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค มีความเท่าเทียมกันในประเทศ (Equitable Economic Development) สนับสนุนและ พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) การลดช่องว่างระดับการ พัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกใหม่ และสมาชิกเก่าผ่านโครงการต่างๆ เช่น โครงการ Initiative for ASEAN Integration (IAI) และ ASEAN-help-ASEAN Program เป็นต้น

การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (Integration into Global Economy) เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ ของอาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาค เช่น การจัดทำเขตการค้าเสรี การให้สิทธิพิเศษด้านการลงทุนภายใต้เขตการ ลงทุน อาเซียน (IAI) กับนักลงทุนภายนอกอาเซียน และการสร้างเครือข่ายใน ด้านการผลิตและจำหน่าย เป็นต้น