สถานการณ์การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
Advertisements

โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระชนมายุ ครบ 84 พรรษา 2. เพื่อยกระดับการศึกษาของผู้นำชุมชนให้มีความรู้ ระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป.
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
สหกรณ์การเกษตรชุมพวง จำกัด
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
กลุ่มที่ 1.
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาวขวัญใจ เมฆมหัศจรรย์
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเชิด ชูจิ๋ว
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเชาว์ แสงสว่าง
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสมบัติ เซี่ยงว่อง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูป ผลผลิตเกษตร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2558
การจัดทำแผนชุมชน.
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลบางพระเหนือ อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย เลี่ยน อุ่นสุข เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลหนองข่า อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย อัมพร เหง้ากอก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
Foodsafety จำนวน สมาชิก ( คน ) สรุปผลการปฏิบัติงานเดือน เมษายน 2551.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูล วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว หมู่ที 3 ตำบลพระอาจารย์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก

สถานการณ์การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว บ้านบึงหลุมบัว ตั้งอยู่ที่ หมู่ 3 ตำบลพระอาจารย์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก มีพื้นที่....... ไร่ ครัวเรือน............ครัวเรือน อาชีพหลัก ทำนา อาชีพเสริม รับจ้าง ค้าขาย การนับถือศาสนา ศาสนาอิสลาม การจัดตั้งกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เมื่อ วันที่ 25 เมษายน 2540 สมาชิก 15 คน จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2548 สมาชิก 40 คน

การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน 1. มีการบริหารโดยคณะกรรมการ 2. สมาชิกใหความร่วมมือในการดำเนินการกลุ่ม 3. กลุ่มมีกฎระเบียบ 4. มีการจัดสรรผลประโยชน์ให้สมาชิก 5. กลุ่มมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 6. มีแผนการพัฒนา 7. การจัดหาวัตถุดิบ

กลุ่มมีการบริหารงานโดยมีคณะกรรมการ คณะกรรมการที่ปรึกษา 1. กำนันตำบลพระอาจารย์ 2. ประธานประชาคมหมู่บ้าน 3. สมาชิก อบต. จำนวน 2 คน คณะกรรมการบริหารงานกลุ่ม 1. นางวรรณา อัดเด็น ประธาน 2. นางเอมอร หอมสุวรณ์ รองประธาน 3. นางมาลี ฮัดเด็น เลขานุการ 4. นางลมัย หมัดรอ เหรัญญิก 5. นางมารียะห์ บูลัน ประชาสัมพันธ์

บทบาทสมาชิก 1. ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมประชุม 2. ปฏิบัติตามกฎระเบียบของกลุ่ม 3. ร่วมกิจกรรมในด้านการผลิต 4. ร่วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ 5. มีการระดมหุ้นจากสมาชิก 6. มีเงินออมของกลุ่ม

กฎระเบียบของกลุ่ม - คณะกรรมการมีการประชุม เดือนละ 1 ครั้ง - คณะกรรมการมีการประชุม เดือนละ 1 ครั้ง มีการให้ค่าตอบแทนในการร่วมทำกิจกรรม (ทำปลา) ชั่งโมงละ 20 บาท

การจัดสรรผลประโยชน์ 1. ให้ค่าจัดทำกิจกรรมตามปริมาณงาน - ทำปลา ชั่วโมงละ 20 บาท/คน 2. มีเงินปันผล

การดำเนินกิจกรรมกลุ่ม 1. ผลิตปลาบูดู เดือนละ 2 ครั้ง ครั้งละ 750 กิโลกรัม 2. น้ำพริก 3. ขนม 4. น้ำปลา

แผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 1. ลดต้นทุนการผลิต 2. อยากได้ผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ที่มีคุณภาพ (น้ำปลา) 3. อยากให้ผลิตภัณฑ์ได้รับเครื่องหมายฮาลาล (เครื่องหมายของอิสลาม)

การจัดหาวัตถุดิบ 1. พึ่งพาจากภายนอก 2. ผลิตตามความต้องการของตลาด 3. เงินทุนมีจำกัด

การดำเนินการของเจ้าหน้าที่ระดับตำบล 1. เยี่ยมเยียน ร่วมประชุม แนะนำอาชีพ สร้างความคุ้นเคย และร่วมกิจกรรมกับกลุ่ม แนะนำจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน 2. วิธีการดำเนินการ - เป็นพี่เลี้ยง - แนะนำการวิเคราะห์ปัญหาและจัดทำแผน

วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น จุดแข็ง 1. มีผู้นำชุมชนเข้มแข็ง 2. ผลิตภัณฑ์เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. สมาชิกร่วมตัวกันอย่างเข้มแข็ง 4. มีความสามัคคี จุดอ่อน 1. วัตถุดิบขาดตลาด 2. ราคาวัตถุดิบไม่คงที 3. ไม่เคยไปดูงานการผลิตปลาบูดูจากที่อื่น 4. ขาดการประชาสัมพันธ์

วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โอกาส 1. ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการ 2. ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ปัญหา/อุปสรรค 1. ต้นทุนการผลิตปลาบูดูสูง 2. วัตถุดิบ (ปลา) ขาดตลาด ขนาดปลาไม่ได้มาตรฐาน 3. เงินทุนหมุนเวียไม่เพียงพอ

หน่วยงานสนับสนุน 1. สนง.เกษตรจังหวัด/อำเภอ 2. สนง.ประมง 3. สนง.อุตสาหกรรม 4. สนง.ตรวจบัญชี 5. สนง.สาธารณสุข 6. สนง.พัฒนาชุมชน 7. อบต.

ปัญหาของกลุ่ม

แนวทางการพัฒนา