ข้อมูล วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว หมู่ที 3 ตำบลพระอาจารย์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
สถานการณ์การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว บ้านบึงหลุมบัว ตั้งอยู่ที่ หมู่ 3 ตำบลพระอาจารย์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก มีพื้นที่....... ไร่ ครัวเรือน............ครัวเรือน อาชีพหลัก ทำนา อาชีพเสริม รับจ้าง ค้าขาย การนับถือศาสนา ศาสนาอิสลาม การจัดตั้งกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เมื่อ วันที่ 25 เมษายน 2540 สมาชิก 15 คน จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2548 สมาชิก 40 คน
การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน 1. มีการบริหารโดยคณะกรรมการ 2. สมาชิกใหความร่วมมือในการดำเนินการกลุ่ม 3. กลุ่มมีกฎระเบียบ 4. มีการจัดสรรผลประโยชน์ให้สมาชิก 5. กลุ่มมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 6. มีแผนการพัฒนา 7. การจัดหาวัตถุดิบ
กลุ่มมีการบริหารงานโดยมีคณะกรรมการ คณะกรรมการที่ปรึกษา 1. กำนันตำบลพระอาจารย์ 2. ประธานประชาคมหมู่บ้าน 3. สมาชิก อบต. จำนวน 2 คน คณะกรรมการบริหารงานกลุ่ม 1. นางวรรณา อัดเด็น ประธาน 2. นางเอมอร หอมสุวรณ์ รองประธาน 3. นางมาลี ฮัดเด็น เลขานุการ 4. นางลมัย หมัดรอ เหรัญญิก 5. นางมารียะห์ บูลัน ประชาสัมพันธ์
บทบาทสมาชิก 1. ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมประชุม 2. ปฏิบัติตามกฎระเบียบของกลุ่ม 3. ร่วมกิจกรรมในด้านการผลิต 4. ร่วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ 5. มีการระดมหุ้นจากสมาชิก 6. มีเงินออมของกลุ่ม
กฎระเบียบของกลุ่ม - คณะกรรมการมีการประชุม เดือนละ 1 ครั้ง - คณะกรรมการมีการประชุม เดือนละ 1 ครั้ง มีการให้ค่าตอบแทนในการร่วมทำกิจกรรม (ทำปลา) ชั่งโมงละ 20 บาท
การจัดสรรผลประโยชน์ 1. ให้ค่าจัดทำกิจกรรมตามปริมาณงาน - ทำปลา ชั่วโมงละ 20 บาท/คน 2. มีเงินปันผล
การดำเนินกิจกรรมกลุ่ม 1. ผลิตปลาบูดู เดือนละ 2 ครั้ง ครั้งละ 750 กิโลกรัม 2. น้ำพริก 3. ขนม 4. น้ำปลา
แผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 1. ลดต้นทุนการผลิต 2. อยากได้ผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ที่มีคุณภาพ (น้ำปลา) 3. อยากให้ผลิตภัณฑ์ได้รับเครื่องหมายฮาลาล (เครื่องหมายของอิสลาม)
การจัดหาวัตถุดิบ 1. พึ่งพาจากภายนอก 2. ผลิตตามความต้องการของตลาด 3. เงินทุนมีจำกัด
การดำเนินการของเจ้าหน้าที่ระดับตำบล 1. เยี่ยมเยียน ร่วมประชุม แนะนำอาชีพ สร้างความคุ้นเคย และร่วมกิจกรรมกับกลุ่ม แนะนำจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน 2. วิธีการดำเนินการ - เป็นพี่เลี้ยง - แนะนำการวิเคราะห์ปัญหาและจัดทำแผน
วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น จุดแข็ง 1. มีผู้นำชุมชนเข้มแข็ง 2. ผลิตภัณฑ์เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. สมาชิกร่วมตัวกันอย่างเข้มแข็ง 4. มีความสามัคคี จุดอ่อน 1. วัตถุดิบขาดตลาด 2. ราคาวัตถุดิบไม่คงที 3. ไม่เคยไปดูงานการผลิตปลาบูดูจากที่อื่น 4. ขาดการประชาสัมพันธ์
วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โอกาส 1. ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการ 2. ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ปัญหา/อุปสรรค 1. ต้นทุนการผลิตปลาบูดูสูง 2. วัตถุดิบ (ปลา) ขาดตลาด ขนาดปลาไม่ได้มาตรฐาน 3. เงินทุนหมุนเวียไม่เพียงพอ
หน่วยงานสนับสนุน 1. สนง.เกษตรจังหวัด/อำเภอ 2. สนง.ประมง 3. สนง.อุตสาหกรรม 4. สนง.ตรวจบัญชี 5. สนง.สาธารณสุข 6. สนง.พัฒนาชุมชน 7. อบต.
ปัญหาของกลุ่ม
แนวทางการพัฒนา