Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
Advertisements

การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Thesis รุ่น 1.
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2554 โรงเรียนตากพิทยาคม
การออกแบบการเรียนรู้อย่างไรให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์
แผนการจัดการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
สรุปเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ (Theme)
การประเมินผลการเรียน
“Backward” Unit Design?
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
คู่มือการใช้การเขียนเรียงความ โดยใช้โปรแกรม PowerPoint
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สู่ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
หน่วย การเรียนรู้.
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเขียนรายงานการวิจัย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
(Competency Based Curriculum)
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557.
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสร้างสื่อ e-Learning
หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓ กองวิชาวิทยาศาสตร์ ส่วนการศึกษา โรงเรียนเตรียมทหาร

Backward Design คืออะไร Backward Design คือ แนวคิดในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ของ Wiggins และ Motighe ในลักษณะ Benchmark Design หรือการอิงมาตรฐาน เป็นการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โดยกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ (Learning Goals) ที่ต้องการ หรือมาตรฐานการเรียนรู้ขึ้นมาก่อน เพื่อกำหนดภาระงาน วิธีการประเมิน แล้วจึงออกแบบแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (แผนการจัดการเรียนรู้)

แผนการจัดการเรียนรู้แบบเดิม แผนการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design 1. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้มาสู่ ภาระงานและวิธีการประเมิน 1. กำหนดเป้าหมาย ภาระงานและวิธีการประเมินมาสู่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้จากมาตรฐานการเรียนรู้สู่กิจกรรมการเรียนรู้ ภาระงานและวิธีการประเมิน 2. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้จากมาตรฐานการเรียนรู้ สู่ภาระงาน วิธีการประเมินและกิจกรรมการเรียนรู้ 3. กรอบแนวคิด : ใช้หลักสูตร(วิชา) เป็นตัวตั้ง ด้านความรู้ เน้นทักษะเฉพาะวิชา 3. ใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่ใช้ชีวิตของผู้เรียนเป็นตัวตั้ง โดยกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ 4 แกน 3.1 ความรู้ที่คงทน 3.2 ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา 3.3 ทักษะคร่อมวิชา 3.4 จิตพิสัย ค่านิยม เจตคติ

Backward Design ทำอย่างไร 1. กำหนดเป้าหมาย : มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2. หลักฐานผลการเรียน : ภาระงานและการประเมิน 3. ออกแบบกิจกรรม : กระบวนการเรียนรู้

1. เป้าหมายการเรียนรู้ (Learning Goals) มี 4 ข้อ 1. ความเข้าใจที่คงทน : คำถามรวบยอด (คำถามหลัก) 2. ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา : มาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 3. ทักษะคร่อมวิชา : ทักษะกระบวนการการเรียนรู้ – การบูรณาการ 4. จิตพิสัย : ค่านิยม เจตคติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์

2. หลักฐานผลการเรียน : ภาระงานและการประเมิน 2. หลักฐานผลการเรียน : ภาระงานและการประเมิน ทำได้โดยการสร้างผังการประเมินหลักฐานผลการเรียน ใช้การประเมินเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ แล้วกำหนดภาระงานลงไป เช่น เป้าหมาย วิธีการประเมิน แบบที่ 1 แบบที่ 2 แบบที่ 3 แบบที่ 4 แบบที่ 5 แบบที่ 6 1. ความเข้าใจที่คงทน 2. ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา 3. ทักษะคร่อมวิชา 4. จิตพิสัย ภาระงานกำหนดลงไป *หมายเหตุ จะประเมินอะไรบ้างให้กำหนดไว้ในช่องการประเมินแต่ละช่อง

3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (จัดลำดับ ก่อน-หลัง ยาก-ง่าย) ตัวอย่างเช่น การวัดและการประเมิน กิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้ เวลา/ชั่วโมง 1. ความเข้าใจที่คงทน 2. ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา 3. ทักษะคร่อมวิชา 4. จิตพิสัย 1.ชื่อ.................................. 2.ชื่อ.................................. 3.ชื่อ.................................. 4.ชื่อ..................................

3.1 เอกสารประกอบการเรียน (ใบความรู้) รูปแบบใดก็ได้แต่ต้องมีข้อมูลครบถ้วน มีหัวข้อที่ประกอบด้วย - ใบความรู้ที่...เรื่อง........................ - ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - เนื้อหา/ภาพประกอบ - บรรณานุกรม

3.2 ใบงาน ต้องชัดเจน ครบถ้วน ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ - ใบงานที่....เรื่อง........................ - ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (จุดประสงค์การเรียนรู้) - คำชี้แจง - งาน - เกณฑ์การให้คะแนน - ชื่อ.............................ชั้น.........................เลขที่...............

3.3 แบบประเมิน : ต้องเป็นแบบประเมินที่มี Rubric และมี Rating Scale มาเขียน เช่น ชื่อนักเรียน/กลุ่ม รายการประเมิน กระบวนการ ทำงานเป็นทีม คุณภาพ ประโยชน์ รวม 5 20 1 2 3 เกณฑ์ Rubric รายการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนตามคุณภาพ 5 4 3 2 1 1.กระบวนการ 2.ทำงานเป็นทีม 3.คุณภาพ 4.ประโยชน์ ลำดับคุณภาพ Rating Scale

3.4 เอกสารอ้างอิง: ต้องเขียนเอกสารอ้างอิงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ของเราด้วย

สวัสดี