พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิชานวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยี
Advertisements

เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
รหัส หลักการตลาด.
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
Priciples of Marketing
MK201 Principles of Marketing
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
ประเภทของระบบสารสนเทศ
5.
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
บทที่ 6 พฤติกรรมผู้บริโภค.
วิธีการดำเนินงานธุรกิจเครือข่าย
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
( Organization Behaviors )
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ตลาดและการแข่งขัน.
ไม่ทราบหรอกว่าข้อมูลเกี่ยวกับตัวเขาได้ถูกเก็บรวบรวมโดยบริษัท เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับความถี่ของการซื้อ ประเภทของการซื้อ และวิธีจ่ายเงิน การทำเช่นนี้ก็เพื่อช่วยบริษัทในการผลิตและการตลาด.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ประเด็นด้านจริยธรรมในการใช้ข้อมูล ข่าวสาร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
( Organization Behaviors )
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
Computer Application in Customer Relationship Management
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การบริหารและกระบวนการวางแผน
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
วงจรของการเห็นคุณค่าแห่งตน
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ครูศรีวรรณ ปานสง่า วิธีการทาง เศรษฐศาสตร์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR) บทที่ 2 บทบาทของวิชา พฤติกรรมผู้ซื้อ

การศึกษาวิชาพฤติกรรมผู้ซื้อ พฤติกรรมของผู้ซื้อ หมายถึง การกระทำของบุคคลใด บุคคลหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับ การแลกเปลี่ยน ซื้อสินค้าและบริการ ด้วยเงิน และรวมทั้งกระบวนการตัดสินใจ ซึ่งเป็นตัวกำหนดให้มี การกระทำ พฤติกรรมของผู้ซื้อในรูปแบบสินค้า อุตสาหกรรม หมายถึง การซื้อวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ของ บริษัทหรือองค์กรอุตสาหกรรมที่ซื้อเพื่อผลิตและขายต่อ คือ ซื้อ แล้วนำไปผลิตเป็น สินค้าตัวใหม่แล้วนำไปขายต่ออีกครั้ง

การศึกษาวิชาพฤติกรรมผู้ซื้อ แต่พฤติกรรมของผู้ซื้อนั้น เราเน้นถึงการซื้อ เอาไปใช้บริโภคหรือซื้อไปให้ผู้อื่นบริโภค สินค้า บางอย่างผู้ซื้อไม่ได้บริโภค แต่ผู้บริโภคไม่ได้ซื้อ ได้แก่ สินค้าที่ซื้อไปเป็นของขวัญ ของฝาก เป็น ต้น

วิธีการศึกษาถึงกระบวนการตัดสินใจ 1.วิธีที่หนึ่ง…. การซื้อเป็นจุดหนึ่งของวิถีทางปฏิบัติที่ผู้บริโภคได้ กระทำ เราจะเข้าใจยิ่งขึ้นโดยพิจารณาถึงเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นก่อนและเหตุการณ์ที่ตามหลังการซื้อ 1.1 ผู้ซื้อที่เป็นอุตสาหกรรม 1.2 การซื้อของผู้บริโภค 1.3 ผู้ซื้อที่เป็นอุตสาหกรรม 1.4 การตัดสินใจซื้อของผู้ซื้อที่เป็นอุตสาหกรรม 1.5 เหตุผลที่ว่าผู้ซื้อที่เป็นอุตสาหกรรมจะมีข้อจำกัด

วิธีการศึกษาถึงกระบวนการตัดสินใจ (ต่อ) 2. วิธีที่สอง... เป็นวิธีศึกษาที่ผสมผสานจากประโยชน์ที่ได้จาก สาขาวิชาต่าง ๆ แนวความคิดต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับวิเคราะห์ ถึงพฤติกรรมที่ได้รวบรวมมาจาก 2.1 จิตวิทยาทั่วไป 2.2 สังคมวิทยา 2.3 มานุษยวิทยา 2.4 เศรษฐศาสตร์ 2.5 วิชาทางรัฐศาสตร์

วิธีการศึกษาถึงกระบวนการตัดสินใจ (ต่อ) 3. วิธีที่สาม.... เป็นวิธีเทียบเคียง หมายถึงเป็นวิชาซึ่งนำเอา ประโยชน์ของวิชาอื่นมาใช้ ทำนองเดียวกับวิชาแพทย์ ศาสตร์ และวิชาวิศวกรรมศาสตร์ เช่น วิชาแพทย์ ต้อง อาศัยประโยชน์จากวิชาชีววิทยา (biology) กายวิภาค ศาสตร์ (anatomy) เคมี (chemistry) และ จิตวิทยา (psychology) ตลอดถึงวิชาเทียบเคียงอื่น ๆ ด้วย เช่น เภสัชศาสตร์ รังสีวิทยา และเทคนิคการแพทย์

y = พฤติกรรมของผู้บริโภคที่ศึกษา ในการวางโครงสร้างสำหรับการตัดสินใจของ ผู้บริโภคนั้น ย่อมแตกต่างกันในแต่เราอาจใช้ สัญลักษณ์แทนปัจจัยผันแปรต่าง ๆ เหล่านี้ในรูป ของสมการทางคณิตศาสตร์ ได้ดังนี้ คือ y = f(x1, x2, , xn) y = พฤติกรรมของผู้บริโภคที่ศึกษา xi = ตัวผันแปรต่าง ๆ ที่เป็นตัวกระตุ้นและ/ หรือกระบวนการต่าง ๆที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ผู้บริโภค f = หมายถึงตัวปรับสมการ

ประโยชน์ของการศึกษาวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค 1. ช่วยให้เข้าใจถึงปัญหาทางการตลาดโดยส่วนรวม 2. ช่วยให้เข้าใจถึงปัญหาทางการตลาดส่วนย่อย 2.1 เข้าใจถึงปัญหาความต้องการของสังคม 2.2 กลไกทางการตลาดสามารถช่วยแก้ปัญหาการตัดสินใจของ สังคมให้ถูกต้องยิ่งขึ้น 2.3 เพื่อช่วยในการหาตลาดใหม่ 2.4 เพื่อช่วยในการเสาะหาส่วนของตลาดสำหรับสินค้าและ ผลิตภัณฑ์ 2.5 เพื่อช่วยในการปรับปรุงกิจกรรมทางการตลาดที่มีอยู่

บทสรุป 1. ให้เข้าใจปัญหาทางการตลาดโดยส่วนรวม พฤติกรรมผู้ซื้อนับว่าสำคัญมากเพราะถ้านักการตลาดเข้าใจถึง กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคได้แล้ว ผลิตภัณฑ์ของเขาที่ผลิต ออกมาก็จะเป็นที่พอใจของผู้บริโภคได้ ในที่สุดก็จะชนะคู่แข่งได้ไม่ยาก ดังนั้นจึงจำเป็นต้องศึกษาถึงพฤติกรรมของผู้ซื้อในยุคโลกาภิวัตน์ให้ เข้าใจ ซึ่งเราจะต้องรู้ถึงกระบวนการตัดสินใจของมนุษย์เพื่อจะได้ใช้ใน การวางแผนการตลาดได้ แม่นยำ เช่น ผู้ซื้อที่เป็นอุตสาหกรรม เป็นการ ซื้อเพื่อตอบสนององค์กร การซื้อของผู้บริโภคก็เพื่อตอบสนองความ ต้องการส่วนตัว วิธีการศึกษาพฤติกรรมผู้ซื้อเราต้องผสมผสานวิชาการ สาขาต่าง ๆ เช่น จิตวิทยาทั่วไป สังคมวิทยา มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร์และวิชาทางรัฐศาสตร์ เป็นต้น ประโยชน์ของการศึกษาวิชานี้ คือ 1. ให้เข้าใจปัญหาทางการตลาดโดยส่วนรวม 2. ให้เข้าใจปัญหาตลาดส่วนย่อย