โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
Advertisements

การปรับค่าตอบแทน สำหรับกำลังคน ด้านสาธารณสุข
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
สาระสำคัญในแผนพัฒนาสาธารณสุข
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
การรับสมัครและคัดเลือก บุคคลเข้าศึกษาหลักสูตรต่าง ๆ
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
25/07/2006.
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข งบประมาณ ปี การส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน โครงการจัดทำชุดความรู้ประสบการณืการจัด กิจกรรมของครู โครงการจัดการความรู้
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการ ดำเนินงานที่สำคัญ ตุลาคม พันธกิจ สวรส.  สร้าง / จัดการความรู้เพื่อการ พัฒนาระบบสุขภาพ  เน้นการวิจัยเชิงระบบ (system approach) และวิจัยในประเด็นปัญหาสำคัญของระบบ.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10.
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.เลย
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
๒ ปี.... ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ. ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ. ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ๑. เพิ่มศักยภาพและขยาย บริการปฐมภูมิ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
นโยบายกรมการแพทย์ ในการพัฒนาเครือข่ายวิชาการและการบริการตติยภูมิและศูนย์รับส่งต่อภูมิภาค โดย นายแพทย์เรวัต วิศรุตเวช อธิบดีกรมการแพทย์
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สัดส่วนวิชาชีพต่อสายสนับสนุน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี

โรงพยาบาลศูนย์ประจำภาคตะวันออก โรงพยาบาลชลบุรี โรงพยาบาลศูนย์ประจำภาคตะวันออก ขนาด 825 เตียง

พันธกิจของโรงพยาบาลชลบุรี ให้บริการสาธารณสุขโดยองค์รวม ทั้ง 4 มิติ แก่ประชาชนทั่วไป ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาล 2. เป็นศูนย์รับผู้ป่วยเพื่อรักษาต่อใน ระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ 3. มีการร่วมผลิตและฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุข 4. ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น และชุมชน ในการแก้ปัญหา และยกระดับสถานะสุขภาพของประชาชน ในภูมิภาคตะวันออก

โรงพยาบาลศูนย์ชลบุรี มีผู้มารับบริการวันละ 1,800 – 2,000 คน ทั้งผู้ป่วยปฐมภูมิ, ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ

หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า แนวทางแก้ไข มีการแยกส่วนบริการ เป็นระดับบริการปฐมภูมิ และทุติยภูมิตอนต้น ส่วนบริการทุติยภูมิ ตอนปลาย และตติยภูมิ โรงเรียนแพทย์ โรงพยาบาลชุมชนอำเภอเมือง โรงพยาบาลศูนย์ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า Excellent Centre

เปิดบริการ 1 ธันวาคม 2547

โรงพยาบาลเมืองชลบุรี

ภารกิจ 1.จัดบริการผู้ป่วยนอก ณ โรงพยาบาลเมืองชลบุรี รวมทั้งคลินิกพิเศษ เช่น Well Baby Clinic : ANC : Life-Style Clinic 2.งานส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ งานอนามัยแม่และเด็ก งานอนามัยโรงเรียน และโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 3.งานควบคุมป้องกันโรค และระบาดวิทยา ครอบคลุมโรงพยาบาลศูนย์ และอำเภอเมือง รวมถึงการควบคุมโรคแรงงานต่างด้าว 4.งานอนามัยสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาลทั่วไป สุขาภิบาลอาหาร

5. งานสาธารณสุขมูลฐาน อสม. 6 5.งานสาธารณสุขมูลฐาน อสม. 6.งานอาชีวเวชกรรม การตรวจสุขภาพพนักงาน การดูแลอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่าง ๆ 7.งานการเรียนการสอนแพทย์ประจำบ้าน และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 4 - 6 สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว ฝึกอบรมและเป็นสถานที่ศึกษาดูงานของนักศึกษาพยาบาลและนักศึกษาวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร 8.งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย การบริการจัดการเครือข่ายสถานปฐมภูมิและอำเภอเมือง (CUP)

งานบริการ

งานเวชระเบียน

งานผู้ป่วยนอก

งานผู้ป่วยนอก

ห้องตรวจ

งานอุบัติเหตุ - ฉุกเฉิน

งานบริการทันตกรรม

คลินิกสุขภาพเด็กดี

งานเภสัชกรรม

งานการเงิน

งานนวดแผนไทย

งานอาชีวเวชกรรม

การเรียนการสอนสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว

บุคลากรโรงพยาบาลเมืองชลบุรี

แพทย์ จำนวน 9 คน ทันตแพทย์ จำนวน 2 คน เภสัชกร จำนวน 2 คน นวก.สาธารณสุข จำนวน 4 คน นักสังคมสงเคราะห์ จำนวน 1 คน

พยาบาล จำนวน 20 คน

จพง.วิทยาศาสตร์การแพทย์ จำนวน 3 คน ทันตาภิบาล จำนวน 2 คน ลูกจ้างประจำ จำนวน 7 คน ลูกจ้างชั่วคราว จำนวน 19 คน

พนักงานนวดแผนไทยจำนวน 10 คน

สัดส่วนการให้บริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี แยกตามพื้นที่ ปี 2548 1,358 (0.26%) 76,277 (14.73 %) 306,856 (59.26 %) 133,317 (25.75%)

สัดส่วนการให้บริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี แยกตามสิทธิ ปี 2548 131,010(25.30%) 342,284 (66.10%) 37,180 (7.18%) 7,334 (1.42%)

โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี ลดความแออัดของโรงพยาบาลชลบุรี ผู้รับริการเข้าถึงบริการได้สะดวก เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริการ 2. โรงพยาบาลศูนย์ปิดแผนกผู้ป่วยนอกแบบwalk in รับเฉพาะผู้ป่วยนัดหมาย

โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี 1. โครงการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลเมืองชลบุรี 2. โครงการพัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชนเป็นสถาน พยาบาลใกล้บ้านใกล้ใจที่มีมาตรฐานสูง

โครงการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลเมืองชลบุรี ลดการส่งต่อไปโรงพยาบาลศูนย์ วัตถุประสงค์ ให้รองรับจำนวนผู้ป่วยนอกได้ วันละ 600 ราย มี SPECIALIST มีความน่าเชื่อถือ ลดการส่งต่อไปโรงพยาบาลศูนย์

โครงการพัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชนเป็นสถานพยาบาลใกล้บ้านใกล้ใจที่มีมาตรฐานสูง มีวัตถุประสงค์ ให้มีการตรวจรักษาโดยแพทย์ที่ศูนย์ฯ ทุกวัน หรือวันเว้นวัน ให้รองรับผู้ป่วยนอกได้ วันละ 200-300 ราย(โดยรวม) และงานบริการอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น งานทันตกรรม และงานส่งเสริมสุขภาพอื่น ๆ

PCUที่ต้องการพัฒนา 4 มุมเมือง (ศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง) 1. PCU บ้านสวน ( 17,033 คน / UC) 2. PCU อ่างศิลา ( 3,764 คน / UC) 3. PCU เหมือง ( 5,041 คน / UC) 4. PCU หนองรี ( 5,083 คน / UC)

ข้อมูลการใช้บริการที่ PCU ต่าง ๆ ปี 2548

แผนภูมิผู้รับบริการแยกตามตำบลในอำเภอเมืองชลบุรี ประจำปี 2548 2000 4000 6000 8000 10000 12000 14000 จำนวนผู้ป่วย ( คน ) ชุดข้อมูล 1 4474 1926 1419 4186 12658 1415 1007 4708 893 1699 2418 2644 1106 1639 434 4067 752 467 271 บาง ปลา บ้าน โขด มะขาม หย่ง ม . 2 , 5 สวน หนอง ไม้แดง อ่าง ศิลา เสม็ด คลอง ตำหรุ ทราย ห้วย กะปิ นาป่า ข้าง หนองรี ดอน หัวฬ่อ แสน สุข เหมือง ปึก สำนัก บก

ขอบคุณค่ะ