ผลงานวิจัยทางการศึกษา ด้านอาชีวศึกษา The study of any cause of students’ dropout in vocation education of Charansanitwong school of Business subject to.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
การนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางสาวเบญจนี สุคันธเมศวร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางศิริพร ไตรเนตร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่

นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
ชื่อเรื่อง การใช้แนวการสอนพหุประสาทสัมผัสเพื่อส่งเสริมความสามารถทางการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวปวีณา.
Eastern College of Technology (E.TECH)
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
นางสาววรันธร ปรุงเรณู
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
สภาพแวดล้อมภายในวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา การบัญชีเบื้องต้น 2 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 ห้อง 1 และ ห้อง 2 โดยใช้เทคนิคการสอนการสอนแบบระดมพลังสมอง.
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลงานวิจัยทางการศึกษา ด้านอาชีวศึกษา The study of any cause of students’ dropout in vocation education of Charansanitwong school of Business subject to Office of the Private Education Commission นางสาวเบญจรัตน์ ราชฉวาง โรงเรียนจรัลสนิทวงศ์ บริหารธุรกิจ ศึกษาสาเหตุการออกกลางคันของนักเรียน - นักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช.) โรงเรียนจรัลสนิทวงศ์บริหารธุรกิจ สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( สช.)

1. เพื่อศึกษาสาเหตุการออก กลางคันของนักเรียน โรงเรียน จรัลสนิทวงศ์บริหารธุรกิจ 2. เพื่อศึกษาแนวทางการ แก้ไขปัญหาการออกกลางคัน ของนักเรียน ตามความคิดเห็น ของผู้บริหาร ครู – อาจารย์ 1.2 วัตถุประสงค์ ของการวิจัย

1.3.1 ข้อมูลจากผู้บริหาร และ ครู – อาจารย์ ด้านสถานศึกษา ด้านการจัดหลักสูตรและ การเรียนการสอน ด้านลักษณะของวิชาชีพ และผู้เรียน ด้านนโยบายการรับ นักเรียน – นักศึกษาเข้า ศึกษาต่อ ด้านครอบครัว ด้านสิ่งแวดล้อมภายนอก 1.3 ขอบเขตของการ วิจัย

1.3.2 ข้อมูลจากนักศึกษาที่ออก กลางคัน ด้านนักเรียน - นักศึกษา ด้านครู - อาจารย์ ที่สอน ด้านทัศนคติต่อ วิชาชีพที่เรียน ด้าน สภาพแวดล้อมภายใน สถานศึกษา ด้านครอบครัว 1.3 ขอบเขตของการ วิจัย ( ต่อ )

1.4 ประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง 1.4 ประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร ครู อาจารย์ จำนวน 29 คน และ นักเรียน ที่ออกกลางคันแล้ว กลับมาศึกษาต่อ จำนวน 15 คน

1.5 ลักษณะของ เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัย สร้างขึ้นสำหรับผู้บริหาร และ ครู – อาจารย์และสำหรับนักเรียนที่ ออกกลางคัน ตอนที่ 1 สอบถามข้อมูลทั่วไป ของผู้ตอบแบบสอบถามจะเป็น แบบเลือกตอบ (Check - List) ตอนที่ 2 สอบถามความคิดเห็น เกี่ยวกับ สาเหตุการออก กลางคันของนักเรียน

สาเหตุด้านนักเรียน โดยเฉลี่ย อยู่ในระดับปานกลาง เฉพาะประเด็น ถูกเพื่อน ๆ ดูหมิ่นด้านฐานะ ในขณะ เรียนไม่มีสมาธิในการเรียน และขาด การเตรียมตัวที่ดีในการสอบแต่ละครั้ง สาเหตุด้านครู – อาจารย์ผู้สอน ในภาพรวมพบว่า โดยเฉลี่ยอยู่ใน ระดับปานกลาง เฉพาะประเด็นไม่ ยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน รองลงมางานที่มอบหมายมีมาก เกินไป สอนเร็วทำให้เรียนไม่ทัน และ ไม่อธิบายงานที่มอบหมายหรือ แบบฝึกหัดให้ชัดเจน 1.6 สรุป ผลการวิจัย

สาเหตุด้านทัศนคติต่อวิชาชีพที่เรียน ในภาพรวมพบว่า โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับ น้อย เฉพาะประเด็นเป็นอาชีพที่ต้องใช้ ความคิดมาก และนักเรียน ในแผนก ส่วน ใหญ่เกเร สาเหตุด้านสภาพแวดล้อมภายใน สถานศึกษาในภาพรวมพบว่า โดยเฉลี่ย อยู่ในระดับน้อย เฉพาะประเด็นการ ปกครองในโรงเรียนเข้มงวดมากเกินไป กิจกรรมที่นักเรียน - นักศึกษามีส่วนร่วมไม่ มีผลทำให้การเรียนดีขึ้น และที่นั่ง พักผ่อนไม่เพียงพอ สาเหตุด้านครอบครัว ในภาพรวม พบว่า โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับน้อย และ เมื่อพิจารณาทุก ๆ ประเด็น นักเรียน มี ความคิดเห็นว่าเป็นปัญหาระดับน้อย ทั้งหมด 1.6 สรุป ผลการวิจัย ( ต่อ )

นำผลการวิจัยไป ปรับปรุง และจัดบรรยากาศ ที่เอื้อต่อการเรียน และมีการ คัดเลือกนักเรียนที่มาเข้า เรียนในกลางเทอมมากขึ้น เพื่อลดปัญหาการออก กลางคัน 1.7 ผลกระทบที่ เกิดขึ้น

1.8 ข้อเสนอแนะการ วิจัย 1. ควรจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้ เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน เช่น มีที่นั่ง พักผ่อน ขยายโรงอาหารให้ใหญ่ขึ้น มีอาหาร ให้บริการ 2. การรับนักเรียน – นักศึกษาใหม่ควรมี การสอบถามนักเรียนเบื้องต้น โดยเฉพาะนักเรียน ที่ผ่านการเรียนมาแล้วหลายสถาบัน หรือมีการ ประเมินศักยภาพของนักเรียนก่อนเข้าเรียนว่ามี ความพร้อมมากน้อยแค่ไหนในการมาเรียนมาก ขึ้น