การประชุมสมัชชาคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ วันที่ ๒๖ – ๒๗ เมษายน พ. ศ. ๒๕๕๓.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การรักษาและคุ้มครองผู้บริโภค
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ประเด็น : ผลการดำเนินงาน Service Plan
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
นายแพทย์พูลสิทธิ์ ศีติสาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
วิชาการโปรแกรมสำนักงาน และสารสนเทศ ง๒๑๒๔๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จำนวน 1 หน่วยกิต ผู้สอน นางสาวพิมพ์พร เพ็ชอินทร.
ก ารประชุมเพื่อพิจารณา แนวทางในการพัฒนา ร้านเกมคาเฟ่ ร้านอินเทอร์เน็ต คาเฟ่ ป ลอดภัยและ ส ร้างสรรค์ วันที่ ๖ ธันวาคม พ. ศ. ๒๕๕๐ ณ ห้องประชุม ๓๐๒ ตึกบัญชาการ.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
บันทึกการประชุม ห้อง สื่อใหม่กับการรู้เท่าทันสื่อ การสัมมนาวิชาการเท่าทันสื่อ ครั้งที่ ๑ ไทย-ทัน-สื่อ มหกรรมการเรียนรู้เท่าทันสื่อแห่งชาติ ครั้งที่ ๑.
การเขียนรายงานสถานการณ์ การเฝ้าระวังและเตือนภัย ทางสังคม
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ปัญหาสำคัญ / ทางออกสำหรับ เด็ก ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓. วัตถุประสงค์ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กของ จังหวัดแบบบูรณาการ เพื่อเสนอโครงการพัฒนาเด็กตาม ความต้องการของจังหวัด.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การบริหารราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการกระทำอันเป็นการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ พ.ศ. ๒๕๕๓
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
การประชุมสัมมนา เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูลด้านแผนที่
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
๑. เป้าหมายการอบรม ๑. เป็นการจัดการฐานข้อมูลสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Database Technology) ให้เกิดเอกภาพและทิศทางเดียวกัน ๒. เป็นการจัดการเครือข่ายฐานข้อมูลเทคโนโลยี
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
จุดเด่น / จุดขาย ของร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช.....
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๖ วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ นายเสริมศักดิ์
สู่การเดินหน้าปฏิรูป วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ วันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ ฯพณฯ พงศ์เทพ เทพ.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
โครงการความร่วมมือของ บวร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาสหกรณ์ ในส่วนของสหกรณ์การเกษตร คณะกรรมการ ๑. คุณสายพิณเอี่ยมป๊อก ประธาน ๒. คุณนิภาเลี่ยมสกุลรองประธาน.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมสมัชชาคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ วันที่ ๒๖ – ๒๗ เมษายน พ. ศ. ๒๕๕๓

( ๑ ) สถานการณ์ด้านการคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ ๖ เรื่อง สถานการณ์ร่วมกันของ เครือข่าย (๑)เราถูกละเมิดสิทธิขั้น พื้นฐานทั้ง ๘ สิทธิอย่าง ต่อเนื่อง (๒)เราถูกปฏิบัติในฐานะของ ลูกค้ามากกว่าในฐานะ “ พลเมือง ” (๓)เราไม่รู้และไม่เข้าใจในสิทธิ ของเราในฐานะพลเมือง (๔)เราขาดการบังคับใช้ กฎหมายอย่างจริงจัง (๕)เราขาดกระบวนการมีส่วน ร่วมของประชาชนในการ บริหารจัดการ (๖)เราขาดกลไกภาค ประชาชนที่จะเข้ามา ช่วยเหลือในกระบวนการ คุ้มครอง เยียวยา ต่อสู้เพื่อ คุ้มครองสิทธิ  ข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน  เข้าถึงสื่อสร้างสรรค์ สื่อที่เหมาะสมกับวัย และคุ้มครองเข้าถึงสื่อ ที่ไม่ปลอดภัย  ความเป็นธรรมในการ ใช้บริการ ราคา  ความเป็นส่วนตัว คุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล  ความเท่าเทียมในการ เข้าถึงและใช้ประโยชน์  ความปลอดภัยจาก การใช้งาน  การมีส่วนร่วมของ ประชาชน  สิทธิในการได้รับการ ชดเชยความเสียหาย สิทธิ

( ๒ ) ประเด็นเร่งด่วนอันเป็นปัญหา เฉพาะหน้า ๕ เรื่อง (๑)ปัญหาเรื่อง โฆษณาสินค้า ที่ส่งผลกระทบต่อ สิทธิในการได้รับข้อมูลข่าวสารครบถ้วน ถูกต้อง เพียงพอต่อการตัดสินใจ กล่าวคือ การโฆษณา แฝงผ่านสื่อต่างๆ โดยเฉพาะรายการโทรทัศน์ (๒)ปัญหาเรื่องการ ส่งข้อความสั้นผ่านทาง โทรศัพท์เคลื่อนที่ อันส่งผลกระทบต่อสิทธิ ความเป็นส่วนตัว ข้อมูลส่วนบุคคล และ สิทธิใน การคุ้มครองเด็กจากการบริโภคสื่อไม่เหมาะกับ วัย (๓)ปัญหาเรื่อง การขาดการสร้างความรู้ความ เข้าใจ ทั้งการเรียนรู้เท่าทันสื่อ การเรียนรู้เท่าทัน สารสนเทศ สิทธิของตนเอง (๔)ปัญหาเรื่อง การขาดสร้างการมีส่วนร่วมของ ประชาชน ในการร่วมบริหารจัดการปัญหาด้าน สื่อ (๕)ปัญหาเรื่อง การขาดกลไกในการคุ้มครอง ภาคประชาชน ในการคุ้มครอง เยียวยา ใน กระบวนการยุติธรรม

( ๓ ) ข้อเสนอในการทำงานเพื่อคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ ๒ ส่วน ( ๓. ๑ ) การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เร่งด่วน  การจัดทำกติกาและบังคับใช้กฎหมายในการจัดการ ปัญหาเรื่องโฆษณาที่ส่งกระทบต่อผู้บริโภค โดยเฉพาะ โฆษณาแฝง ในรายการโทรทัศน์ โดยให้ เครือข่ายผู้บริโภคมีส่วนร่วมในการจัดทำกฎเกณฑ์ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  การจัดทำกติกาและการบังคับใช้กฎหมายเพื่อ คุ้มครองความเป็นส่วนตัวและคุ้มครองผู้บริโภคจาก ข้อความสั้นผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ (SMS Telemarketing) โดยให้เครือข่ายดำเนินการ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการทั้งการคุ้มครอง ชดเชยค่าเสียหาย โดยเฉพาะผู้บริโภคที่เป็นเด็ก เยาวชน  การเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการ เพื่อทำให้เกิด การ จัดระดับความเหมาะสมของรายการ โทรทัศน์ ระหว่างภาคประชาชนและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อ  การจัดทำกติกาและการบังคับใช้กฎหมาย การ คุ้มครองความเป็นธรรมในการใช้บริการ ทั้ง ค่าบริการ การบกเลิกบริการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โดย ให้เครือข่ายดำเนินการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

( ๓ ) ข้อเสนอในการทำงานเพื่อคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ ๒ ส่วน ( ๓. ๒ ) การแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้าง  การดำเนินการจัดตั้ง องค์กรคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ โดยมีเป้าหมายหลักในการ ทำงาน ๔ ด้าน คือ ( ๑ ) การจัดตั้งศูนย์รับเรื่อง ร้องเรียนพัฒนาระบบฐานข้อมูลจากหน่วยงาน ต่างๆ และ พัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ( ๒ ) การดำเนินการกระบวนการยุติธรรม เพื่อ คุ้มครองผู้บริโภคที่ได้รับความเดือนร้อน ( ๓ ) การสังเคราะห์ข้อมูลเชิงวิชาการ และ ( ๔ ) การ สื่อสารความรู้สู่เครือข่ายผู้บริโภค  การปฏิรูป การเรียนรู้เท่าทันสื่อและ สารสนเทศ ให้กับประชาชน ทั้งในระบบ การศึกษาและนอกระบบการศึกษา  การผลักดัน การส่งเสริมสื่อสร้างสรรค์ ในรูป ของ กองทุนสื่อสร้างสรรค์ เพื่อคุ้มครองสิทธิ ในการได้รับข้อมูล ข่าวสาร สื่อเชิงสร้างสรรค์