ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม
Advertisements

การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
งานวิจัย เรื่อง การฝึกทักษะ 5 ประการที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ประยุกต์ 1 เรื่องระบบจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม ของนักเรียนชั้น ปวช.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน เรื่อง การศึกษาผลการใช้ชุดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี การเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ด้วยปัญญา (Constructionism ) เพื่อพัฒนาเจตคติและผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ โดย อ. หัสยา วงค์วัน

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์ระดับอาชีวะศึกษาไม่น่าพอใจ นักเรียนไม่ชอบเรียนคณิตศาสตร์เพราะเป็นวิชาที่ยาก จากการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ พบว่า นักเรียนมีทัศนคติในเชิงลบกับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ เกิดปัญหาในการจัดการเรียนการสอน ชั่วโมงสอนน้อย มีเนื้อหามาก ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การเรียนต่ำ

จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา (Constructionism) ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาและพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์โดยใช้ชุดการเรียนรู้ในรูปแบบกระบวนการตามทฤษฎีกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา (Constructionism) เป็นแนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น และ นักเรียนมี เจคคติที่ดีในวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนที่สอนโดยใช้ชุดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ด้วยปัญญา(Constructionism) 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังเรียนโดยใช้ชุดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ด้วยปัญญา (Constructionism)

ขอบเขตการวิจัย 1. เนื้อหา ที่ใช้ในการวิจัย วิชา คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ ระดับ ชั้น ปวส.1 แผนกคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง ระบบเลขฐาน 2. กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาแผนกคอมพิวเตอร์ โรงเรียนลำปางพาณิชยการและเทคโนโลยี ห้อง สค 1/2

ขั้นตอนการทำวิจัย ขั้นตอนที่ 1 เลือกกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักเรียนชั้น ปวส.1 ห้อง สค.1/2 ขั้นตอนที่ 2 ทดสอบก่อนเรียน(Pre-test) กับกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ขั้นตอนที่ 3 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ชุดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา กับกลุ่มตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 4 ทดสอบหลังเรียน (Post-test) กับกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบทดสอบชุดเดิมใช้เวลาในการสอบเท่ากับก่อนเรียนและ ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. ชุดการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ด้วยปัญญา มี 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ ขั้นที่ 1 เชื่อมโยงความคิด (Think) ขั้นที่ 2 ศึกษาเรียนรู้ ขั้นที่ 3 ฝึกทักษะลงมือปฏิบัติ (Make) ขั้นที่ 4 นำเสนอแลกเปลี่ยนความคิด ขั้นที่ 5 ทบทวนความเข้าใจและนำไปใช้ (Refection) 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3. แบบสอบถามเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ความคิดเห็น คะแนนเฉลี่ย รายข้อ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ก่อนเรียน 2.22 0.68 หลังเรียน 3.83 0.97 ผลต่าง 1.61 0.29 จากการตอบแบบสอบถามพบว่าระดับความคิดเห็นของนักเรียนในการตอบแบบสอบถามโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ นักเรียนชอบคณิตศาสตร์เรื่องระบบเลขฐาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.86

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล(ต่อ) การทดสอบ คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ก่อนเรียน 89 5.56 1.18 หลังเรียน 245 15.31 3.14 ผลต่าง 156 9.75 1.96 ผลการเปรียบเทียบระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนพบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05

ข้อเสนอแนะ 1. ควรจะมีการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ใช้ชุดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ด้วยปัญญา (Constructionism) กับเนื้อหาคณิตศาสตร์เรื่องอื่นๆหรือระดับชั้นเรียนอื่นๆ ต่อไป 2. ควรจัดบรรยากาศการเรียน เพื่อที่นักศึกษาจะได้ระดมพลังความคิด และช่วยต่อยอดความคิดให้เพื่อน 3. ควรขยายผลการใช้ชุดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ด้วยปัญญา กับนักศึกษา ที่เรียนวิชาเดียวกัน