รูปแบบการบริการสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
ระบบสารสนเทศ.
Data Warehouse (คลังข้อมูล)
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (ศสท.)
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
Lesson 10 Controlling.
Information System and Technology
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ข้อมูลและสารสนเทศ บทที่ 2.
การบริหารงานของห้องสมุด
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
การจัดการบริการสารสนเทศ
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
ข้อมูล & สารสนเทศ ข้อมูล ( Data) - ข้อเท็จจริงที่ได้จากการ สังเกตุ หรือสำรวจความเป็นไปของเหตุการณ์ ของโลกเพื่อให้เกิดความเข้าใจในเหตุการณ์ นั้น สารสนเทศ.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3)
บัณฑิตศึกษาสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
เรื่องเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
ข้อมูลและสารสนเทศ.
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
ฐานข้อมูล Data Base.
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
Information Technology : IT
องค์ประกอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ. เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม ฮาร์ดแ วร์ ซอฟต์ แวร์ บุคลาก ร ข้อมูล ขั้นตอน การ ปฏิบัติงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สารสนเทศกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Business Intelligence (BI) ธุรกิจอัจฉริยะ
ททททททททททท. ความหมาย กระบวนการในการ ค้นหาเอกสาร หรือ สารสนเทศที่ ต้องการ โดยใช้เครื่องมือช่วยค้น รูปแบบต่างๆ การสืบค้นสารสนเทศ (Information Searching.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบการบริการสารสนเทศ รูปแบบการบริการสารสนเทศจะสะท้อนลักษณะเฉพาะ ของสถาบันบริการสารสนเทศ ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ ขอบเขตและวิธีการให้บริการ การคิดค่าบริการ ข้อกำหนดเกี่ยวกับผู้ใช้ ระดับการใช้เทคโนโลยี

ปรัชญาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับในการให้บริการ ผู้ใช้สารนิเทศ Ranganathan’s Five Rule 1. หนังสือมีไว้ให้ใช้ 2. หนังสือเป็นของทุกคน 3. หนังสือทุกเล่มมีไว้ให้ทุกคนอ่าน 4. ประหยัดเวลาแก่ผู้อ่าน 5. ห้องสมุดเป็นองค์กรที่ต้องเติบโต

Michael Gorman ได้นำปรัชญา 5 ข้อ มาประยุกต์ ใช้กับสภาพห้องสมุดสมัยปัจจุบัน 1. ห้องสมุดให้บริการแก่มนุษยชาติ 2. ยอมรับความรู้ที่สื่อสารไว้ในทุกรูปแบบ 3. ใช้เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาดเพื่อสนับสนุน การบริการ 4. ปกป้องเสรีภาพในการเข้าถึงความรู้ 5. รักษาอดีต สร้างอนาคต

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารนิเทศ ความหมาย สารนิเทศ (Information) ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ข้อมูล ตลอดจนความรู้ที่ได้มีการบันทึกไว้ในรูปแบบ ต่าง ๆ โดยมีการจัดเก็บการประมวลผล การสืบค้นแก่ผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ

การรวบรวม การตีความ การจัดกลุ่ม การวิเคราะห์ การคำนวณ การอธิบายความ การแปรผล การบันทึกในรูปแบบต่าง ๆ การวิเคราะห์ การทำความเข้าใจ ความหยั่งรู้ การประยุกต์ใช้

ธรรมชาติของสารนิเทศ สารนิเทศมีการเกิดขึ้น - สูญสลาย สารนิเทศมีทั้งที่ถูกต้อง - ไม่ถูกต้อง สารนิเทศมีคุณค่า - ไม่มีคุณค่า สารนิเทศย่อมมีความไม่เป็นกลาง สารนิเทศไม่ได้มีความสมบูรณ์ในตัวเอง ต้องเสาะแสงหาจากหลายแหล่ง

บทบาทและความสำคัญของสารนิเทศ การบริหาร การพัฒนาประเทศ การเมือง การทหาร การอุตสาหกรรม ธุรกิจ วัฒนธรรม การศึกษาและวิจัย

คุณสมบัติของสารนิเทศ สามารถเข้าถึงได้ (Accessibility) ความครบถ้วน (Completeness) ความถูกต้องเที่ยงตรง (Accurancy) ความเหมาะสม (Appropriateness) ความทันเวลา (Timeliness) ความชัดเจน (Clarity) ความยืดหยุ่น (Flexibility) ความสามารถในการพิสูจน์ได้ (Verfiability) ความซ้ำซ้อน (Redundancy)

ปัจจัยที่ทำให้สารนิเทศมีคุณค่า คือ เวลา ความถูกต้อง ความครบถ้วน ความต่อเนื่อง

ความเปลี่ยนแปลง : ห้องสมุด สารนิเทศเป็นศูนย์กลาง ห้องสมุดในฐานะผู้จัดเตรียมสารนิเทศให้ (Information Provider) ห้องสมุดเป็นศูนย์กลาง ห้องสมุดในฐานะที่เป็นสถาบัน

ความเปลี่ยนแปลง : ห้องสมุด การใช้เทคโนโลยีใหม่เพื่อให้งานในห้องสมุดเป็นระบบอัตโนมัติ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการ เข้าถึงสารนิเทศ และ ส่งสารนิเทศ โดยไม่จำกัดแต่เพียงภายในห้องสมุดเท่านั้น

ความเปลี่ยนแปลง : ห้องสมุด ข่ายงานห้องสมุดเพื่อจัดหาสารนิเทศ ข่ายงานที่กว้างขวาง เพื่อจัดเตรียม สารนิเทศทุกรูปแบบ ไว้บริการ

ลักษณะของห้องสมุด การครอบครอง และเน้นการเข้าถึง เน้นการใช้ทรัพยากรประเภทสิ่งพิมพ์ตามแบบเดิม ซึ่งจัดเก็บไว้ในห้องสมุดและสามารถตรวจสอบจากตัวเล่มได้ เน้นการเข้าถึงทรัพยากรที่เป็นข่ายงาน และสามารถตรวจสอบได้ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

ลักษณะของห้องสมุดที่เน้น การครอบครอง และเน้นการเข้าถึง คุณค่าขึ้นอยู่กับจำนวนของทรัพยากร คุณค่าอยู่ที่การจัดหาสารนิเทศ และสามารถจัดส่ง สารนิเทศ

ลักษณะของห้องสมุดที่เน้น การครอบครอง และเน้นการเข้าถึง การพัฒนาทรัพยากรใช้วิธีการ Just in case ซึ่งขึ้นอยู่กับเป้าหมายของการจัดหา โดยมุ่งเฉพาะรูปลักษณะทางกายภาพของทรัพยากร ซึ่งเป็นรูปแบบของหอจดหมายเหตุ การพัฒนาทรัพยากร ใช้วิธี Just in time โดยขึ้นอยู่กับความเชื่อมั่นได้ในการจัดส่งเอกสาร ที่สะดวกและรวดเร็ว

บริการ --- SERVICES S=Sensitive to Customer’s E=Enthusiansm R=Reliability ผู้ให้บริการต้องมีความไวต่อความต้องการของ ผู้ใช้ ช่างสังเกตุ มีความกระตือรือร้นในการทำงาน และให้ ความช่วยเหลือผู้ใช้ มีความน่าเชื่อถือ

บริการ --- SERVICES V=Vigorous, Value I=Information, Impression มีความเข้มแข้งและเห็นคุณค่า ในการให้บริการ เป็นผู้ให้ข่าวสารและทำให้ผู้รับบริการเกิดความประทับใจ มีมิตรไมตรีและให้บริการด้วย ความถูกต้อง มีความเห็นอกเห็นใจผู้ใช้ ยิ้มแย้ม แจ่มใส และมีความจริงใจ ต่อผู้ใช้บริการ V=Vigorous, Value I=Information, Impression C=Courtesy, Correctly E=Empathy S=Smile, Sincerity