บทที่ 4 การค้าส่ง
ความหมายของการค้าส่ง การค้าส่ง (Wholesaling) หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าและบริการเป็นจำนวนมากให้กับผู้ซื้อที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจ การผลิตและการขายต่อ การค้าส่งส่วนใหญ่นิยมบวกกำไรเพิ่ม (Mark up)ต่อหน่วยในอัตราต่ำ เพื่อจูงใจให้ซื้อปริมาณมาก
บทบาทของผู้ค้าส่ง ต่อผู้ผลิต บทบาทของผู้ค้าส่ง ต่อลูกค้า บริการสนับสนุนลูกค้าแทนผู้ผลิต ให้ข่าวสารการตลาด ให้บริการทางการเงินและช่วยแบกรับความเสี่ยง ช่วยเหลือภาระงานการตลาด ขายสินค้าให้ ให้คำแนะนำและ สนับสนุนทางเทคนิค ช่วยเหลือทางการเงิน และสินเชื่อ ให้บริการทางการตลาด จัดหมวดหมู่และ แบ่งสินค้าเพื่อขาย เสาะหาสินค้าให้ บทบาทของผู้ค้าส่ง ต่อลูกค้า บทบาทของ ผู้ค้าส่ง ในช่องทาง การจัดจำหน่าย ผลการดำเนินงาน ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในช่องทางการจัดจำหน่าย
สาขาและสำนักงานขายของผู้ผลิต ผู้ค้าส่งประเภทอื่นๆ ประเภทของผู้ค้าส่ง พ่อค้าขายส่ง ตัวแทน และ นายหน้า สาขาและสำนักงานขายของผู้ผลิต ผู้ค้าส่งประเภทอื่นๆ
1. พ่อค้าส่ง 1.1 พ่อค้าขายส่งที่ให้บริการอย่างเต็มที่ 1.2 พ่อค้าขายส่งที่ให้บริการอย่างจำกัด 1.1.1 พ่อค้าขายส่งทั่วไป 1.1.2 ผู้จัดจำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม 1.2.1 พ่อค้าขายส่งประเภทขายเงินสดและให้ลูกค้าขนสินค้าเอง 1.2.2 พ่อค้าขายส่งโดยรถบรรทุก 1.2.3 พ่อค้าขายส่งโดยสินค้าไม่ผ่านมือ 1.2.4 พ่อค้าขายส่งฝากขายสินค้า 1.2.5 พ่อค้าขายส่งผ่านทางสื่อ 1.2.6 สหกรณ์ผู้ผลิต
2. ตัวแทนและนายหน้า 2.2 นายหน้า 2.1 ตัวแทน 2.1.1ตัวแทนผู้ผลิต 2.1.2ตัวแทนขายหรือตัวแทนจำหน่าย 2.1.3ตัวแทนซื้อ 2.1.4ตัวแทนนำเข้าและส่งออก 2.1.5พ่อค้านายหน้า 2.2 นายหน้า
3. สาขาและสำนักงานขายของผู้ผลิต 4. ผู้ค้าส่งประเภทอื่นๆ ผู้ค้าส่งรวบรวมสินค้าทางการเกษตร ผู้ค้าส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ผู้ค้าส่งโดยการประมูลสินค้า
การตัดสินใจทางการตลาดของผู้ค้าส่ง การเลือกลูกค้าเป้าหมาย การเลือกทำเลที่ตั้ง การกำหนดผลิตภัณฑ์ที่จำหน่าย การกำหนดราคาขาย การกำหนดขอบเขตการค้า การจัดซื้อ การควบคุมสินค้าคงคลัง การส่งเสริมการตลาด
การพัฒนาการค้าส่ง 1. ผู้ค้าส่งมีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารกิจการ 2. มีการพัฒนารูปแบบการค้าส่งผ่านหน้าร้านไปสู่การค้าส่งแบบ ไม่มีหน้าร้าน 3. ผู้ค้าส่งมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ภายใต้ตราสินค้าของกิจการ 4. ผู้ค้าส่งมีการรวมตัวในแนวตั้งมากขึ้น
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION