รายงานสรุปการปฏิบัติงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
Advertisements

ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
การจัดทำแผนงานซ่อมบำรุงทาง
โดย สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดสมุทรสาคร
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
พลเรือตรี จุมพล ลุมพิกานนท์
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๓.๓๐ น. – ๑๖.๓๐ น.
ข้อมูลร่องน้ำบ้านดอน ปากน้ำตาปี จ.สุราษฎร์ธานี
ท่าเทียบเรือ ฐตร.ทรภ.๑.
ท่าเทียบเรืออ่าวสลัด ก.กูด
การสำรวจปากแม่น้ำปัตตานีท่าเทียบเรือ อบต.บานา
ท่าเทียบเรืออ่าวตานิด เกาะหมาก
ท่าเทียบเรือเกาะเสม็ด
ร่องน้ำปราณบุรี.
การสำรวจบริเวณท่าเทียบเรือเอนกประสงค์ อ.เกาะพะงัน จว.สุราฦษฎร์ธานี
การสำรวจบริเวณท่าเรือซีทรานเฟอร์รี่หาดหน้าทอน เกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
โครงการชลประทานหนองคาย
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
โครงการปรับปรุงระบบประปา พร้อมระบบส่งน้ำ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
ประมวลภาพ โครงการติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มที่ 5 จังหวัดตรัง.
แหล่งท่องเที่ยวอำเภอหัวหิน
โครงการงานติดตั้งเสาอากาศ Broadband Wireless Access
เขตควบคุมอาคาร.
เอกสารนำเสนองานควบคุมโรค
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันไข้เลือดออก เนื่องในวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๖ “รวมพลังเร่งรัดกำจัดลูกน้ำ”
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ ชลประทาน ปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๖ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ ชลประทาน ปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๖ งบดำเนินงาน จำนวน ๑ โครงการงบประมาณ ๓,
เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ ชลประทาน ปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๖ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ ชลประทาน ปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๖ โครงการที่ได้รับอนุมัติ งบลงทุน ( โครงการ.
โครงการปรับปรุงฟื้นฟูห้วยน้ำลี
กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา สรุปสถานการณ์นักท่องเที่ยว เดือน กรกฏาคม ปี 2556 วันที่ 26 สิงหาคม ปี 2556.
ความคืบหน้าของรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชายหาดทะเลในจังหวัดระยอง
ทะเลแหวก แห่งอันดามัน
สถานที่ท่องเที่ยว ติดบางแสนของจังหวัดชลบุรี
ตราด.
การท่องเที่ยวในบางแสน
เกาะลอย ศรีราชา สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดชลบุรี อำเภอศรีราชา
สถานที่ท่องเที่ยวในชลบุรี
สัตหีบ SATTAHIP CHONBURI.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
ยินดีต้อนรับ สู่ กศน.ตำบลส้มผ่อ.
ศูนย์บำรุงทางหลวงชนบทแกลง Rural Roads Maintenance Center (Klaeng)
กิจกรรมเพิ่มผลผลิตสัตว์ น้ำ กลุ่มบริหารจัดการด้าน การประมง.
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ใน - ด้านภาษา ( Literacy ) - ด้านคำนวณ ( Numeracy ) - ด้านเหตุผล.
สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
กลุ่มที่14 เรื่องแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุราษร์ธานี
“ทช.โปร่งใส ใส่ใจคุณธรรม นำความซื่อสัตย์ ขจัดการทุจริต”
ภาคใต้.
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านชลประทาน
จัดทำโดย: น.ส.กนกวรรณ มาลา
แหล่งท่องเที่ยวไทย.
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
แผนงานป้องกันและลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรอุทยาน แห่งชาติทางทะเล ( กิจกรรมจัดการแนวปะการังและชายหาด )
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๘ ประชุมคณะกรรมการพัฒนาสตรี จังหวัดพิษณุโลก (กพสจ.)
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานสรุปการปฏิบัติงาน โครงการขุดลอกนอกฝั่งเพื่อส่งทรายถมปรับลดการกัดเซาะ ชายหาดสมิหลา ริมถนนชลาทัศน์ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ศูนย์พัฒนาและบำรุงรักษาทางน้ำที่ ๔ กรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม

วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งหาดสมิหลา บริเวณที่มี การกัดเซาะระดับรุนแรงเพิ่มความกว้างหน้าหาด ที่ถูกกัดเซาะ ให้มีระยะความกว้างเพิ่มขึ้น ทำให้ความสวยงามของชายหาดส มิหลากลับคืนมา เป้าหมายของโครงการ เพื่อแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งหาดสมิหลาระดับรุนแรง ความยาวตามแนวชายหาดประมาณระยะทาง ๔๕๐ เมตร โดยใช้เรือขุดลอก เรือเจ้าท่า ข.๓๗ เป็นเครื่องจักร ปฏิบัติงาน ทำการขุดลอกทรายในทะเลนอกชายฝั่ง ห่างจาก ชายฝั่งประมาณ ๒๐๐ เมตร ทำการส่งทรายทางท่อมาถม ปรับชายหาดและใช้รถขุดแขนยาวปรับแต่งชายหาดให้ได้ความ กว้างของชายหาดเฉลี่ยประมาณ ๘๐ เมตร โดยยึดความสูง ของหาดที่ถมปรับใหม่เท่ากับชายหาดเดิมและปรับ Slope ลาด เอียงจดทะเล สถานที่ปฏิบัติงาน ชายหาดสมิหลาบริเวณเหนือเกาะกัดกันเซาะ ชายฝั่งถึงหน้าสโมสรนายทหาร ชั้น ประทวน ริมถนนชลาทัศน์ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

ประโยชน์ที่จะได้รับ - ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งหาดสมิหลา ระดับความ รุนแรงระยะทาง ๔๕๐ เมตร ได้รับการป้องกันและแก้ไข ให้กลับมามีความสวยงามความกว้างหน้าหาดเพิ่มขึ้น - แหล่งท่องเที่ยวสำคัญของจังหวัดสงขลา กลับมามี สภาพดังเดิม ประชาชนสามารถกลับมาใช้ประโยชน์ใน ด้านการท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ ธุรกิจการค้าขนาดย่อม ขนาดกลางและขนาดใหญ่ มีรายได้เพิ่มขึ้นจากต่อเนื่อง จากนักท่องเที่ยว - สภาพเศรษฐกิจของจังหวัดสงขลา หมุนเวียนเพิ่มขึ้น มีผลทางอ้อมจากการที่มีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น มีการจับจ่าย ใช้สอย สร้างรายได้หมุนเวียน - สภาพธรรมชาติที่ถูกทำลาย กลับคืนสู่สภาพใกล้เคียง กับสภาพเดิมในอดีต  

สรุปผลการปฏิบัติงานขุดลอกเพื่อนำทรายถมปรับชายฝั่ง ลดการกัดเซาะบริเวณชายหาดสมิหลา(ริมถนนชลาทัศน์) ๑. งบประมาณทั้งหมด 8,407592.90(งบกรมเจ้าท่า ๖,๙๗๓,๙๘๐.๙๔ บาท +เงินเทศบาล๑,๔๓๓,๖๑๑.๙๖ บาท) 2. เนื้อดินรวม ๖๐๓,๗๘๖ ลูกบาศก์เมตร 3.ถมปรับพื้นที่ความกว้างหน้าหาดเฉลี่ย ๔๐ เมตร ไปประจบหาดเดิมที่ กม.๐+๔๕๐ ความสูงสันหาดเท่าระดับหาดเดิมและปรับ SLOPE ลงจดผิวน้ำ 4. ระยะเวลาดำเนินการ ๑๓๐ วัน (ตั้งแต่วันที่ ๙ พฤษภาคม – ๑๕ กันยายน ๒๕๕๕)

สภาพชายหาดเดิมก่อนทำการถมปรับ ๑๗ พฤษภาคม ๕๕ สภาพชายหาดเดิมก่อนทำการถมปรับ ๑๗ พฤษภาคม ๕๕

ความคืบหน้าการปฏิบัติงาน ณ วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕ ความคืบหน้าการปฏิบัติงาน ณ วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕ ความคืบหน้าการปฏิบัติงาน ณ วันที่๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕

ความคืบหน้าการปฏิบัติงาน ณ วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๕ ความคืบหน้าการปฏิบัติงาน ณ วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๕ (ปิดหน่วยฯ)

ชายหาดสมิหลา วันที่ 23 ธันวาคม 2556

ชายหาดสมิหลา วันที่ 23 ธันวาคม 2556

ชายหาดสมิหลา วันที่ 23 ธันวาคม 2556

ผลการตรวจวัดสภาพชายหาดสมิหลา เทศบาลนครสงขลา สำรวจเมื่อ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 คงเหลือพื้นที่ 57 เปอร์เซ็นต์ ถือ ว่าคุ้มค่าต่อการลงทุน และขอรับ การสนับสนุนเพิ่มเติม ตามตำแหน่ง ที่ตรวจสอบแล้วว่ามีการกัดเซาะ มากกว่าปกติ

ภาพชายหาดสมิหลา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556

ภาพชายหาดสมิหลา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556

ภาพชายหาดสมิหลา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ทรายละเอียดเป็นทรายธรรมชาติดั้งเดิมของชายหาดสมิหลา และเป็นทรายที่คงสภาพได้นาน

ภาพชายหาดสมิหลา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556

ภาพชายหาดสมิหลา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556

ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ที่คงเหลือในปัจจุบัน วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖

ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ที่คงเหลือในปัจจุบัน วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖

ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ที่คงเหลือในปัจจุบัน วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖

ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ที่คงเหลือในปัจจุบัน วันที่ ๒๕ มีนาคม 2๕๕๖

ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ที่คงเหลือในปัจจุบัน วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖

ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖