งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการชลประทานหนองคาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการชลประทานหนองคาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการชลประทานหนองคาย
Royal Irrigation Department กรมชลประทาน ที่ทำการ : สำนักชลประทานที่ 5 ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำหนองคายและโครงการฝายห้วยหลวง โครงการชลประทานหนองคาย อ.เมือง จ.หนองคาย โครงการชลประทานสกลนคร : 1. เป็น 1 ใน 5 ชลประทานจังหวัด RID-CEO ของสำนักชลประทานที่ 5 ที่ทำการตั้งอยู่บริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยเดียก บ้านนาคำ ตำบลห้วยยาง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 2. หน่วยงานในระบบเครื่องข่าย RID-CEO ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ศูนย์ฯภูพาน โครงการฯน้ำอูน โครงการก่อสร้าง 2 สำนักงานจัดรูปที่ดินฯ ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า

2 ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย
โครงการชลประทานหนองคาย Royal Irrigation Department กรมชลประทาน ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย ภารกิจดูแลให้คำปรึกษาสถานีสูบน้ำที่ถ่ายโอน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และดำเนินการก่อสร้างสถานีสูบน้ำใหม่ตามที่ราษฎรร้องขอ

3 ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย
โครงการชลประทานหนองคาย Royal Irrigation Department กรมชลประทาน ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย ความสำคัญของสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานให้เป็นประโยชน์ ด้านการเกษตร และสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในการเร่งรัดขจัดปัญหาความแห้งแล้งของ ประเทศในพื้นที่ที่อยู่นอกเขตโครงการชลประทานโดยการจัดตั้งสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า ขึ้นที่ บริเวณริมฝั่งของแหล่งน้ำที่มีน้ำบริบูรณ์ตลอดทั้งปีทั่วประเทศ ซึ่งจะสามารถส่งให้เกษตรกร ทำการเพาะปลูกได้ตลอดปีในพื้นที่ ประมาณสถานีละ ,000 ไร่

4 ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย
โครงการชลประทานหนองคาย Royal Irrigation Department กรมชลประทาน ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย 1.ขุดลอกคลองดิน ท้องคลองคอนกรีต ก่อนเริ่มฤดูกาลทุกครั้ง 3.ขุดคลองไส้ไก่เข้าสู่ที่นาของตนเอง (ขนาดคลองน้อยกว่า 0.05 ม. / นาที) หน้าที่ของคณะกรรมการ กลุ่มผู้ใช้น้ำ 2.ถางหญ้าตามแนวคันคลองส่งน้ำ 4.ช่วยถอดเคลื่อนย้ายและต่อท่อยางส่งน้ำ 5.ซ่อมแซมปรับปรุงดินคันคลองส่งน้ำในส่วนที่ชำรุดเสียหายจากการชะล้างของฝน และการเยียบย่ำของคน

5 หน้าที่ความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารกิจการสถานีสูบน้ำ
โครงการชลประทานหนองคาย Royal Irrigation Department กรมชลประทาน หน้าที่ความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารกิจการสถานีสูบน้ำ 1. บริหารกิจการสถานีสูบน้ำให้เป็นไปตามข้อบังคับให้เกิดความก้าวหน้าและบริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง 2. การพิจารณาอนุญาตหรืองดจ่ายน้ำให้แก่สมาชิก โดยคำนึงถึงประโยชน์ของกิจการสถานีสูบน้ำเป็นหลัก 3. สำรวจรังวัดพื้นที่ทำการเกษตรของสมาชิกผู้ใช้น้ำ 4. ตรวจสอบการใช้น้ำของสมาชิกให้เป็นไปตามข้อบังคับ 5. เก็บเงินค่าใช้น้ำ ค่าธรรมเนียม ค่าบริการอื่นๆ 6. ดูแลและบำรุงรักษาคลองส่งน้ำให้ใช้งานได้ดีอยู่เสมอ 7. รับ คำขอ คำร้อง ของสมาชิกผู้ใช้น้ำ 8. ประสานงานกับพนักงานสูบน้ำ ในการเปิด – ปิด น้ำ 9. เก็บรักษาเงินของกิจการสูบน้ำ 10. หน้าที่อื่นๆ

6 การคิดเงินค่ากระแสไฟฟ้าในการสูบน้ำปัจจุบัน
โครงการชลประทานหนองคาย Royal Irrigation Department กรมชลประทาน การคิดเงินค่ากระแสไฟฟ้าในการสูบน้ำปัจจุบัน 1. กฟภ. คิดค่าไฟฟ้า Unit ละ = บาท 2. พพ.เรียกเก็บจากราษฎร Unit ละ = บาท 3. ส่วนที่ พพ. จ่าย Unit ละ บาท = บาท 4. ค่าต้นทุนการผลิต (จะเปลี่ยนแปลงไปตามราคาน้ำมัน) Unit ละ = บาท 5. รวมเงินค่าไฟฟ้าที่ต้องจ่ายให้ กฟภ.(พพ.+ราษฎร) Unit ละ( 2+3+4) = บาท 6. จ่ายค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม(Vat) ให้ กฟภ. อีก Unit ละ 7% (2.0412X0.07) = บาท 7. รวมต้องจ่ายค่าไฟฟ้าให้ กฟภ. (พพ.+ราษฎร) Unit ละ (5+6) = บาท 8. ฉะนั้นจะเป็นค่าไฟฟ้าส่วนที่ พพ.ต้องจ่าย(ไม่รวมค่า Loss)( ) = บาท หมายเหตุ : ทั้งนี้ยังไม่รวมค่า Lossในหม้อแปลงไฟฟ้าของแต่ละสถานี ซึ่งมีจำนวนไม่เท่ากัน

7 อัตรากำลัง นายสมชาย ขวัญนนท์เดิม นายช่างชลประทาน ระดับชำนาญงาน
นายสมชาย ขวัญนนท์เดิม นายช่างชลประทาน ระดับชำนาญงาน นายสมหวัง กุลเสน ช่างฝีมือโรงงานระดับ 1 นายพิทักษ์ กุลเสน ช่างฝีมือโรงงานระดับ 1 นายจิตร แก่นมา ยาม


ดาวน์โหลด ppt โครงการชลประทานหนองคาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google