การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
ดิจิตอลและการออกแบบตรรก
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
Social Media กับการศึกษา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
Work Shop การพัฒนาหลักสูตรสำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
รายละเอียดของรายวิชา
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
หน่วย การเรียนรู้.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ฐานข้อมูล Data Base.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
บทที่ 11.
การผลิตคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การปรับบุคลิกภาพก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน: ผลการประเมินจากหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมชั้น.
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ. ศ ( มคอ.) เฉลิม วรา วิทย์
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
ผู้อำนวยการ ..คิดอย่างไร ?
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบ Constructionism พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงการ ภาควิชาอุตสาหกรรม โดย นางสาวบุญส่ง ศรีอนุตร์ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาวิชาการ.
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ เรื่อง การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ โดยใช้วิธีแผนที่ความคิด (Mind Map) ของนักศึกษาระดับ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา โดย ศ.ดร. พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์

การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิตนักศึกษา ในรายละเอียดของรายวิชาระดับอุดมศึกษา ตามมคอ.3 (หมวดที่ 4) หมายถึงการกำหนดผลการเรียนรู้ให้ครอบคลุมอย่างน้อย 5 ด้าน ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับแผนที่แสดงการ กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา โดยมีการกำหนดวิธีสอนและวิธีการประเมินผลที่มีลักษณะเชิงรุกเพื่อให้ มั่นใจว่าจะเกิดผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน ดังตัวอย่างต่อไปนี้

1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1.1 คุณธรรมจริยธรรมที่มุ่งพัฒนา คือคุณธรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ ยั่งยืน 1.2 วิธีการสอน ให้นิสิตสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิกฤตคุณธรรม จริยธรรมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน 1.3 วิธีการประเมิน ประเมินจากการสรุปความคิดรวบยอด

2. ด้านความรู้ 2.1 ความรู้ที่สำคัญ คือ ความรู้เกี่ยวกับการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ และ ประเด็นวิกฤตของการศึกกับการพัฒนาที่เกิดขึ้นทั่วโลก 2.2 วิธีการสอน ให้นิสิตสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิกฤตของการศึกษา และการพัฒนา 2.3 วิธีการประเมิน ประเมินจากผลการสรุปความคิดรวบยอด

3. ด้านทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่มุ่งพัฒนา คือ การคิดเชิงวิพากษ์ และนำเสนอบท สังเคราะห์เชิงสร้างสรรค์ 3.2 วิธีการสอน สอนให้นิสิตตั้งประเด็นวิกฤตและนำเสนอบทสังเคราะห์เชิง สร้างสรรค์ 3.3 วิธีการประเมิน ประเมินจากการเสนอบทสังเคราะห์เชิงสร้างสรรค์

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่สำคัญ คือ การได้รับการยอมรับ จากผู้ร่วมงานและความรับผิดชอบในการเสริมสร้างพลังของทีมงาน 4.2 วิธีการสอน ให้นิสิตทำงานร่วมกัน 4.3 วิธีการประเมิน ประเมินจากผลงานร่วมของนิสิต

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะที่มุ่งพัฒนา คือ การเลือกใช้ข้อมูลจากเทคโนโลยีสารสนเทศ สถิติ และการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร 5.2 วิธีการสอน ให้นิสิตตั้งประเด็นวิกฤตแล้วสืบค้นข้อมูลเพื่อใช้ในการ วิเคราะห์และสังเคราะห์ 5.3 วิธีการประเมิน ประเมินจากผลการนำเสนอบทสังเคราะห์เชิงสร้างสรรค์

ที่สำคัญคือต้องกำหนดวัตถุประสงค์ของรายวิชาที่ครอบคลุมผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้านด้วย ดังตัวอย่างต่อไปนี้ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถดังนี้ 1. สามารถใช้วิธีการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ในการเสนอบทสังเคราะห์และ ทางเลือกในการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างมี คุณธรรม 2. สามารถนำเสนอบทสังเคราะห์ในการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืนให้ได้รับการยอมรับจากผู้ร่วมงานวงวิชาการหรือวิชาชีพ