โครงการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อพัฒนาเด็กไทย มีโภชนาการสมวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
Advertisements

ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
สรุปปัญหาเด็กพิเศษในประเทศไทย
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
สาระสำคัญในแผนพัฒนาสาธารณสุข
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ผลิตภาพการผลิตรวม Total Factor Productivity : TFP
องค์การอนามัยโลกได้มีมติ สมัชชา WHA39.14 (1986) เรียกร้องประเทศสมาชิกให้ใช้กลยุทธ์ ควบคุมยาสูบอย่างสมบูรณ์เบ็ดเสร็จ โดยมี 9 องค์ประกอบ.
ประเด็นการประชุมกลุ่ม
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
แผนเชิงรุกการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2551 โดยคณะทำงานยกร่างแผนงานเชิงรุก กระทรวงสาธารณสุข-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ชูวิทย์
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี
A man’s dreams are an index to his greatness การสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี มีโภชนาการสมวัย.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น
ปัจจัยที่มีผลต่อระดับสติปัญญา
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
กำหนดการปฐมนิเทศโครงการเท่ห์กินผัก น่ารักกินผลไม้
องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม
ส่งเสริมสัญจร.
มหาวิทยาลัยบูรพา (พ.ศ – ปัจจุบัน)
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
The 10th National Health Plan
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี
การเพิ่มการเข้าถึงบริการกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยเด็ก (C : Child)
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน
การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย เขตบริการสุขภาพที่ 7
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
สถานการณ์การส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยเขต 12
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
ผู้อำนวยการสถานศึกษา, รองผู้อำนวยการสถานศึกษา  ที่ปรึกษาโครงการฯ โครงการเสริมสร้างศักยภาพฯ ( แบ่งเป็น 4 กิจกรรมหลัก ) เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ สุขภาพ -
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??

โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน ด้านสุขภาพอนามัยและพัฒนาการ ของเด็ก พ
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ชุมชนต้นแบบด้านพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
ดร. อำนาจ วิชยานุวัติ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 27 มกราคม 2562
การส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย.
ปิรามิด แห่งการรับรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อพัฒนาเด็กไทย มีโภชนาการสมวัย

วิกฤตสุขภาพเด็กไทย

คอพอก 7 % เตี้ยแคระ แกร็น 7 % ซีดจากขาด เหล็ก 4 % สมาธิสั้น 2.4-8% โรคอ้วน 13.8 % เตี้ยแคระ แกร็น 7 % ซีดจากขาด เหล็ก 4 % สมาธิสั้น 2.4-8% ปี 2539 – 2540 IQ 91.9 ปี 2544 IQ <70 ปี 2552 เด็กไทย 1 ใน 4 (ร้อยละ 25) สมองทึบ ผลสัมฤทธิ์จากการสอบของเด็ก ป.6 ได้คะแนนเฉลี่ยบางวิชาไม่ถึง 50 สอบผ่านเกณฑ์ 50 คะแนนเพียงร้อยละ 9.8 เทียบกับต่างประเทศได้คะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์อันดับที่ 29 จาก 59 ประเทศ วิทยาศาสตร์อันดับที่ 21 สิงคโปร์ เกาหลี ไต้หวัน และญี่ปุ่นอยู่ใน 10 อันดับแรก Learning Disorder 6-9.95% ปัญหาสายตา 6.2-8.7% ปัญหาการได้ยิน 3.9-6.1%

ทุพโภชนาการ เกิดจาก.... ครอบครัวและชุมชนขาดความรู้/เข้าใจและทักษะด้านอาหารและโภชนาการ สิ่งแวดล้อมไม่เอื้อต่อการมีพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์ การบริหารจัดการด้านโภชนาการในระดับพื้นที่ยังต้องการปรับปรุงแก้ไข (โดยเฉพาะกลไกการทำงานของสามภาคส่วน คือท้องถิ่น ชุมชน และประชาชน ขาดการบูรณาการและจัดการที่ดีเพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสม)

วัตถุประสงค์โครงการฯ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถนะของ อปท. โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก สถานรับเลี้ยงเด็ก และชุมชน รวมทั้งภาคีเครือข่าย ในการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์ เพื่อนำไปสู่การมีโภชนาการสมวัยของทารก เด็กวัยก่อนเรียน และเด็กวัยเรียน 5

พื้นที่นำร่อง 9 จังหวัด ภาคกลาง สมุทรปราการ นนทบุรี เพชรบุรี ภาคเหนือ ลำปาง เชียงใหม่ ภาคใต้ สงขลา ภูเก็ต ภาคอีสาน อุดรธานี ขอนแก่น

ระยะเวลา การดำเนินงาน ปีที่ 1 : พ.ค. 52 – เม.ย. 53 ปีที่ 2 : พ.ค. 53 – เม.ย. 54 ปีที่ 3 : พ.ค. 54 – เม.ย. 55 7

Ultimate Goal ปี 2555 Outcome ปี 2554 - 2555 แนวโน้มของทารก เด็กวัยก่อนเรียน และเด็กวัยเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีภาวะโภชนาการสมวัยเพิ่มขึ้น Outcome ปี 2554 - 2555 แม่และผู้ให้อาหารเด็กมีพฤติกรรมการให้อาหารที่ถูกต้องตาม โภชนบัญญัติทารกและเด็กเล็ก ทารก เด็กวัยก่อนเรียน เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมโภชนาการ ที่พึงประสงค์ มีนโยบายสาธารณะด้านอาหารและโภชนาการในระดับองค์กร ระดับท้องถิ่น และระดับชาติ

Output ปี 2553 - 2554 Best Practice Model การพัฒนาสู่องค์กรที่พึงประสงค์ ด้านโภชนาการ (อปท. / ชุมชน / ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก / บ้านรับเลี้ยงเด็ก /สถานรับเลี้ยงเด็ก/โรงเรียน) ข้อเสนอนโยบายด้านอาหารและโภชนาการในระดับองค์กร ระดับท้องถิ่น เพื่อผลักสู่นโยบายระดับชาติ

(ร่าง) นิยาม : องค์กรที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ (ร่าง) นิยาม : องค์กรที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ (ชุมชน / ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก /บ้านรับเลี้ยงเด็ก /สถานรับเลี้ยงเด็ก/โรงเรียน) องค์กรที่มีการดำเนินงานงานอาหารและโภชนาการ มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 : การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสม องค์ประกอบที่ 2 : การบริหารจัดการอาหารโรงเรียนที่มีคุณภาพและ ได้มาตรฐานโภชนาการ องค์ประกอบที่ 3 : การจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีพฤติกรรมโภชนาการฯ องค์ประกอบที่ 4 : การติดตามประเมินผล และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ องค์ประกอบที่ 5 : การบริหารจัดการที่ทำให้เกิดองค์กรที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ ผ่านกระบวนการถอดบทเรียนด้านการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการที่ดี ในการ บูรณาการงานอาหารและโภชนาการสู่งานประจำแบบมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน