การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ. 2538-2551 Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความเสียเปรียบเชิงเศรษฐกิจ ไม่สามารถเข้าถึงบริการ/โอกาสต่างๆ
Advertisements

งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Graduate School Khon Kaen University
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
การศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
หลักสูตรคณิตศาสตร์ ประเทศจีน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
การศึกษาองค์ประกอบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อใน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ นางสาวธัญศญา ธรรมิสกุล วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู

การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
***นำเสนอผลงานวิจัย***
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) กรุงเทพมหานคร
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
Eastern College of Technology (E.TECH)
นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ชื่อเรื่อง. ผลการติดตามลักษณะการมีงานทำ ภายใน 1 ปี
ชื่อผลงานวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นายรัตนวุธ บุญเทียบ.
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ. 2538-2551 Analysis of Master’s Thesis in Social Studies of Khon Kaen University During 1995-2008

นายอรรถสิทธิ์ แสงกล้า นักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระนครพาณิชยการ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) ศึกษาภาพรวมของงานวิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศึกษา 2) วิเคราะห์จำแนกประเภทของวิทยานิพนธ์ โดยจำแนกตามระดับการศึกษาของกลุ่มประชากรหรือกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในวิทยานิพนธ์ กลุ่มรายวิชาในหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่เกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ และประเภทของงานวิจัย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือ วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตของสาขาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ทำในช่วงปี พ.ศ. 2538-2551 จำนวน 174 เล่ม

กรอบแนวคิดในการวิจัย 12. กรอบแนวคิดในการวิจัย ในภาพรวมของงานวิจัยนี้ สามารถสรุปกรอบแนวคิดของการวิจัยได้ดังภาพที่ 2 กรอบแนวคิดในการวิจัย 2.2 ภาพที่ 2 กรอบแนวคิดในการวิจัย วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา จำนวน 174 เล่ม 1. ศึกษาภาพรวมของ ผู้วิจัย ได้แก่ - เพศ - อายุ - อาชีพ - วุฒิการศึกษา - สาขาวิชาที่จบ - ปีที่เข้าศึกษา - รายได้ วิเคราะห์ตามประชากร กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย - ปฐมวัย - ประถมศึกษา - มัธยมศึกษา - อาชีวศึกษา - อุดมศึกษา - ประชาชน 2.1 วิเคราะห์ตามกลุ่มวิชาที่เกี่ยวกับวิจัย -กลุ่มวิชาสิ่งแวดล้อม -กลุ่มวิชาประวัติศาสตร์ -กลุ่มวิชาเศรษฐศาสตร์ -กลุ่มวิชาภูมิศาสตร์ -กลุ่มวิชาพื้นฐานการศึกษาและศาสนา -กลุ่มวิชาหลักสูตรและการสอนสังคมศึกษา -กลุ่มวิชารัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ และการเมืองการปกครอง วิเคราะห์ตามประเภทของวิจัย - วิจัยเชิงประวัติศาสตร์ - วิจัยเชิงพรรณนาหรือ สำรวจ - วิจัยเชิงคุณภาพ - วิจัยเชิงทดลอง 2.3 2 2 2

ผลการวิจัยสรุปได้ 1. ในภาพรวมของวิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ. 2538-2551 พบว่า ผู้ทำวิทยานิพนธ์เป็นเพศหญิง (65.5%) มากกว่าเพศชาย และส่วนใหญ่เป็นผู้มีวุฒิทางการศึกษา (64.5%) สำหรับผู้ที่ไม่มีวุฒิทางการศึกษา จบมาจากสาขาวิชาชีพที่หลากหลายต่างกันถึง 46 สาขาวิชาชีพ มากกว่าครึ่ง (58.0 %) เป็นข้าราชการครู-อาจารย์ วิทยานิพนธ์ส่วนใหญ่ (80.5%) ทำโดยผู้ที่มีรายได้เป็นของตนเองแล้ว และส่วนใหญ่เข้าเรียนในโครงการพิเศษ (69.0%)  

วิทยานิพนธ์กลุ่มใหญ่ที่สุดทำโดยผู้ที่มีอายุอยู่ในช่วง 24-25 ปี (10 วิทยานิพนธ์กลุ่มใหญ่ที่สุดทำโดยผู้ที่มีอายุอยู่ในช่วง 24-25 ปี (10.9%) มีเพียง 1 ใน 3 ของวิทยานิพนธ์ ทั้งหมด (30.5%) ที่ทำโดยผู้จบปริญญาตรีสาขาวิชาสังคมศึกษาโดยตรง และวิทยานิพนธ์จำนวนมากที่สุด (14.4 %) ทำโดยผู้เข้าเรียนในปี พ.ศ. 2539 2. จากการวิเคราะห์จำแนกวิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ. 2538-2551 พบว่า 2.1 มีวิทยานิพนธ์ที่ใช้กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มประชากร เป็นนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา มากที่สุด (49.4%) รองลงมาเป็นกลุ่มอาจารย์/ประชาชนทั่วไป (21.3%) และนักเรียนในระดับประถมศึกษา (19.5%) ตามลำดับ สำหรับกลุ่มปฐมวัยเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ใช้น้อยที่สุด (0.6%)

2. 2 วิทยานิพนธ์ส่วนใหญ่ (97 2.2 วิทยานิพนธ์ส่วนใหญ่ (97.7%) มีเนื้อหาอยู่ในขอบเขตของรายวิชาในหลักสูตร ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศึกษา โดยวิทยานิพนธ์มีเนื้อหาเกี่ยวกับกลุ่มรายวิชาหลักสูตรและการสอนสังคมศึกษามากที่สุด (40.8%) รองลงมา คือ กลุ่มรายวิชาสิ่งแวดล้อม (17.2%) กลุ่มรายวิชาเศรษฐศาสตร์ (12.1%) กลุ่มรายวิชาพื้นฐานการศึกษาและศาสนา (13.8%) และกลุ่มรายวิชารัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ และการเมืองการปกครอง (10.9 %) ตามลำดับ 2.3 วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศึกษาส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยเชิงพรรณนาหรือสำรวจ (78.2%) รองลงมาคืองานวิจัยเชิงทดลอง (18.4%) และงานวิจัยเชิงคุณภาพ(2.9%) ตามลำดับ  

จบการนำเสนอ ขอบคุณจากใจนะครับ