ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี THE EFFECTS OF COOPERATIVE LEARNING ON ACHIEVEMENT AND SCIENCE LEARNING ATTENTION OF SECOND YEAR VOCATIONAL STUDENTS, SIAM BUSINESS ADMINISTRATION COLLEGE
1. เพื่อสร้างรูปแบบการสอนแบบร่วมมือ สำหรับวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2. เพื่อเปรียบเทียบความสนใจในการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานระหว่าง ก่อนเรียนและหลังเรียน 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานระหว่าง ก่อนเรียนและหลังเรียน
รูปแบบการสอนแบบ ร่วมมือ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ พื้นฐาน ความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ พื้นฐาน
ประชากร นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 2 ( ปวช.2) โรงเรียนสยาม บริหารธุรกิจ นนทบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 2 ( ปวช.2) โรงเรียนสยาม บริหารธุรกิจ นนทบุรี ที่เรียนวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 จำนวน 26 คน
1. แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ 2. แบบทดสอบเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อ และข้อสอบเขียนตอบ จำนวน 1 ข้อ 3. แบบสอบถามความสนใจในการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ดัดแปลงจากเครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยของวิไลพร ดำสะอาด (2544)
1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมหลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียน แบบร่วมมือสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐานหลังเรียนด้วยรูปแบบการ สอนแบบร่วมมือสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
นักเรียนมีความสนใจต่อการสอนแบบ ร่วมมือเป็นอย่างมาก นักเรียนมีความสนใจต่อการสอนแบบ ร่วมมือเป็นอย่างมาก ครูต้องพัฒนารูปแบบการสอนอื่นๆให้ น่าสนใจมากยิ่งขึ้น ครูต้องพัฒนารูปแบบการสอนอื่นๆให้ น่าสนใจมากยิ่งขึ้น ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น ผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะศึกษาหา ความรู้เพิ่มเติม ผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะศึกษาหา ความรู้เพิ่มเติม
การเรียนแบบร่วมมือเป็นเทคนิคที่พัฒนาขึ้นเพื่อ ส่งเสริมความร่วมมือ และการถ่ายทอดความรู้ระหว่าง เพื่อนในกลุ่ม เทคนิคนี้สามารถใช้ได้กับรายวิชาที่ ผู้เรียนต้องเรียนเนื้อหาวิชาจากตำราเรียน ดังนั้น ครูผู้สอนจึงมีบทบาทสำคัญในการกำหนดขนาดของ กลุ่ม และลักษณะของกลุ่มจะเป็นกลุ่มที่คละ ความสามารถ ให้การดูแลการจัดลักษณะการนั่งของสมาชิกให้ สะดวกที่จะทำงานร่วมกันและง่ายต่อการสังเกต ติดตามความก้าวหน้าของกลุ่ม ครูต้องชี้แจงกรอบของกิจกรรมให้นักเรียนแต่ละคน เข้าใจวิธีการและกฎเกณฑ์ในการทำงาน สร้างบรรยากาศที่เสริมสร้างการแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและกำหนดหน้าที่รับผิดชอบของสมาชิกกลุ่ม
เป็นที่ปรึกษาของทุกกลุ่มย่อยและคอยติดตาม ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของกลุ่มและสมาชิก กลุ่มกำหนดเวลาให้ทำงานร่วมกัน นอกจากนั้น ครูจะต้องยกย่อง ให้รางวัล คำชมเชยในการ ทำงานร่วมกันของนักเรียนในด้านการประเมินผล ครูจะให้คะแนนเป็นรายบุคคลแล้วนำคะแนนของ ทุกคนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนน รวมหรือค่าเฉลี่ยสูงสุด จะติดประกาศไว้ที่ป้าย ประกาศของห้อง เพื่อเป็นการสร้างขวัญและ กำลังใจให้กับนักเรียนและทำให้นักเรียนมีความ สนใจเรียนมากขึ้น อันจะเป็นผลให้นักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นไปด้วย