4.1 (ก) การวัดผลการดำเนินการ การเลือก จากการจัดทำแผนกลยุทธ์ ของหมวด 2.1ก (1) ผู้บริหารระดับสูงได้กำหนดตัวชี้วัดหลักของศูนย์ศรีพัฒน์ฯ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์/เป้าหมาย ของคณะแพทยศาสตร์ ทั้ง 4 ด้าน รวมถึงตัวชี้วัดของหน่วยงานในแต่ละแผนปฎิบัติการ ตัวชี้วัดหลักด้านการเงินที่สำคัญ อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพในการดำเนินการ (Activity Ratio) อัตราส่วนความสามารถในการก่อหนี้ (Debt to Equity Ratio) การรวบรวม มีทั้งแบบบันทึกในเอกสารและจากระบบสารสนเทศ
4.1 (ก) การวัดผลการดำเนินการ จากการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโดยรวมที่ผ่านมา องค์ความรู้และประสบการณ์ของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ นำมาตัดสินใจเพื่อดำเนินการสร้างนวัตกรรม * ระบบเอกซเรย์ดิจิตอล * การเพิ่มหอผู้ป่วยใหม่ การปรับปรุงหอผู้ป่วยใน/หอผู้ป่วยวิกฤติ * เปิดบริการเพิ่มคลินิกเฉพาะทาง เช่น คลินิกโรคหัวใจ (Heart Clinic) ศูนย์ส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร (Endoscopy Unit) * ห้องผสมยาเคมีบำบัด
4.1 (ก) การวัดผลการดำเนินการ (ต่อ) พิจารณาเลือกข้อมูลเชิงเปรียบเทียบของศูนย์ศรีพัฒน์ฯ กับโรงพยาบาลเอกชนที่มีขนาดและกลุ่มลูกค้าเป้าหมายใกล้เคียงกัน ข้อมูลเปรียบเทียบที่ถูกคัดเลือกจะนำไปใช้ในการวิเคราะห์ SWOT -การทบทวนและปรับปรุงระบบการวัดผลการดำเนินการรายเดือน รายไตรมาส -ทบทวนผลการดำเนินการประจำวันจากโปรแกรมระบบบริหารจัดการ (MIS) ซึ่งสามารถแสดงข้อมูลทางการเงินแบบ Real Time เช่น รายได้ประจำวัน ข้อมูลเงินสดรับ-เงินสดจ่าย
4.1(ข) การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ ทบทวนผ่านการประชุมต่างๆ เช่น การประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษา การประชุมระดับหัวหน้าฝ่าย/แผนก/หน่วยงาน การประชุมคณะกรรมการบริหาร การประชุมกลุ่มย่อยของคณะกรรมการ/คณะทำงาน ข้อมูลข้อร้องเรียน ข้อมูลอุบัติการณ์ความเสี่ยง และผลการดำเนินการประจำเดือน สิ่งที่ส่งผลกระทบต่อผู้รับบริการจำนวนมากเสี่ยงที่จะเกิดความผิดพลาด ความปลอดภัยของผู้รับบริการ รวมถึงคุณภาพการรักษาตามข้อกำหนดด้านวิชาชีพและสิทธิผู้ป่วย จะถูกพิจารณาดำเนินการปรับปรุงเป็นลำดับแรก
4.1(ข) การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ(ต่อ) ผลการทบทวนจะเป็นปัจจัยนำเข้าในกระบวนการ PDCA ทุกระดับ ซึ่งจะเป็นส่วนสำคัญในการออกแบบและปรับปรุงกระบวนการ และในการจัดการเชิงกลยุทธ์ของศูนย์
4.2(ก) การจัดการแหล่งสารสนเทศ สารสนเทศงานบริการส่วนหน้า (Front Office) สารสนเทศส่วนงานสนับสนุน (Back Office) ระบบเครือข่ายภายใน (Intranet) ระบบเครือข่ายภายนอก (Internet) MIS
4.2(ก) การจัดการแหล่งสารสนเทศ (ต่อ) Server Room มีคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ และ UPS สำรองทดแทน มี Shadow Server จำนวน 2 ชุด ระบบไฟฟ้ากำลังเป็นแบบ Fully Redundancy แยกการใช้งาน และระบบ Internet เครื่อง Client ติดตั้งโปรแกรม Anti Virus และ Firewall มีผู้ดูแลระบบติดตามข่าวสารภัยคุกคามทางระบบเครือข่ายและคอย Update Patched การเข้าถึงข้อมูลในระบบ เป็นไปตามสิทธิ์ที่ได้รับมี ระบบการสำรองข้อมูลทุกวัน
4.2(ก) การจัดการแหล่งสารสนเทศ (ต่อ) กระแสไฟฟ้าขัดข้อง - มี (UPS) - มีระบบสำรองไฟฟ้าของอาคาร 2. ไวรัส - ติดตั้งระบบ Firewall และ Anti Virus 3. Server/เครือข่าย เสีย - มี Shadow Server จำนวน 2 ชุด - จัดเตรียมอุปกรณ์เครือข่ายสำรอง (Ethernet Switch)ไว้อย่างน้อย 2 ตัว 4. อัคคีภัย - มีอุปกรณ์ดับเพลิงสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ - มีการแยก Backup Server เก็บไว้แยกจาก Main Server - มีระบบการสำรองข้อมูลทุกวัน
4.2(ก) การจัดการแหล่งสารสนเทศ (ต่อ) เปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นแม่ข่ายเมื่อเครื่องแม่ข่ายมีอายุการใช้งาน มากกว่า 5 ปี มีระบบการดูแลเพื่อทบทวนการเพิ่มหรือเปลี่ยนอุปกรณ์สำหรับ Hardware ทุกไตรมาสที่ 3 ของปี จัดพนักงานปฏิบัติงาน 24 ชั่วโมงทั้งระบบฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด (Open System) ของระบบ HIS และระบบ MIS ทำให้สามารถสร้างระบบโปรแกรมตามความต้องการใหม่ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง
4.2(ข) การจัดการข้อมูลสารสนเทศ และความรู้ ความแม่นยำ ฝึกอบรม,สัญญลักษณ์,บาร์โค๊ด ความถูกต้องเชื่อถือได้ ฝึกอบรม,ทดสอบก่อนใช้งานจริง,Electronic Automatic ความทันเหตุการณ์ Single Database,Scan, Electronic Report การรักษาความปลอดภัยและความลับ การเปิดเผยประวัติการรักษาของผู้ป่วยจะต้องได้รับการยินยอมเป็นลายลักษณ์ นโยบายจากผู้บริหารในการรักษาความลับของผู้ป่วยสำหรับพนักงาน การกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูล
4.2(ข) การจัดการข้อมูลสารสนเทศ และความรู้ (ต่อ)
ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมใน TQA หมวด 4 สวัสดีค่ะ