ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : ประชิด เกิดมาก. เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญยิ่งขึ้นต่อการศึกษาสู่ อนาคต จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการศึกษา เพื่อให้ สามารถนาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ.
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน

นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
จัดทำโดย นางสาวสุชาภา นรพัลลภ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.

ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ อัครพล ธรรมรังสี

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา จากกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทำให้โลก "ไร้พรมแดน" และกระแสผลักดันต่าง ๆ ทำให้ไทยต้องแข่งขันกับนานาประเทศในด้านต่าง ๆ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อให้ประเทศ มีศักยภาพในการแข่งขันและยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคงและมีศักดิ์ศรีในสังคมโลกบนฐานแห่งความเป็นไทยทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความจำเป็น ในการพัฒนา "คน" และ "คุณภาพของคน" โดยเห็นว่า "คนเป็นทั้งเหตุปัจจัยและผลลัพธ์ที่สำคัญที่สุดของการพัฒนาประเทศ" ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างที่เกิดขึ้นแล้วในหลายประเทศที่ประสบความสำเร็จในการพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าไปด้วยดี ด้วยประชากรที่มีคุณภาพการ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เพื่อแก้ไขปัญหาคุณภาพการศึกษา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้วิจัยจึงสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) วิชาการใช้คอมพิวเตอร์กราฟฟิตเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อลดปัญหาการเรียนการสอนของสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเทคนิค และเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนให้สูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับการเรียนการสอนในยุคปฏิรูปการศึกษา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 2. ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ t-test 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์

กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 1 ห้องเรียนห้อง คธ.211 นักศึกษา 40 คน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster sampling) ด้วยการจับสลากจาก 10 ห้องเรียน มา 1 ห้องเรียน

สรุปผลการวิเคราะห์ สรุปผลการวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าสถิติทดสอบทีและระดับนัยสำคัญทางสถิติในการทดสอบเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนกับหลังเรียนของผู้เรียน

สรุปผลการพัฒนาตามวัตถุประสงค์ 2.1 ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพ ผลการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประสิทธิภาพ E1= 82.20 และ E2 = 86.00 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 2.2 ผลการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มตัวอย่างที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการใช้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์มีความแตกต่างกันที่นัยสำคัญระดับ 0.05 โดยก่อนเรียนมีคะแนน (เฉลี่ย 45.50) ภายหลังจากเรียนมีคะแนนเพิ่มขึ้น (เฉลี่ย 55.10) 2.3 ความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กลุ่มตัวอย่างที่ประเมินความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยรวมทั้งฉบับและรายข้อมีความพึงพอใจในระดับมาก (เฉลี่ย 4.27)