นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเลขานุการ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การศึกษาองค์ประกอบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อใน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ นางสาวธัญศญา ธรรมิสกุล วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.

นางสาวแววดาว วงค์เรือน วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เรื่อง การใช้เกมพัฒนาทักษะการเขียนคำภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้น ปวช
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) กรุงเทพมหานคร
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์ ทัศนคติที่มีต่อการนำระบบ E-Learning มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์ นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์

ปัญหาการวิจัย นโยบายปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทย ที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบันเห็นได้ชัดว่ามีความสอดคล้องกับกระแสดังกล่าว ได้กำหนดเป้าหมายไว้ว่า ในอนาคตคนไทยทุกคน จะได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 12 ปี และจะมีความสามารถทักษะในกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทำให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ดังนั้นเทคโนโลยีก็ยิ่งทวีบทบาทสำคัญมากขึ้นในการศึกษา โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีศักยภาพสูงในการเป็นแหล่งข้อมูล ถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้ ระหว่างปัจเจกบุคคล องค์กร ตั้งแต่ระดับท้องถิ่นไปจนถึงระดับชาติ

วัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคของการเรียนการสอนแบบ E-learning ในวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการ จรัลสนิทวงศ์ และนำไปสู่แนวทางการใช้ E-learning เพื่อส่งเสริมการศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการ จรัลสนิทวงศ์ อย่างมีประสิทธิภาพ

ผังสรุปสำคัญ ประชากรที่ศึกษา ตาราง 1 จำนวนนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการ จรัลสนิทวงศ์ กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2556

ผังสรุปสำคัญ การวิเคราะห์ข้อมูล ตาราง 2 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทัศนคติที่มีต่อการใช้ระบบ E-learning ของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 200 คน

สรุปผลการวิจัย ส่วนที่ 1 วิเคราะห์ลักษณะข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า เพศ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย สาขาวิชาที่เรียน แยกออกเป็น 4 สาขา ๆ ละเท่า ๆ กัน ประกอบด้วยสาขาการจัดการ การตลาด การบัญชี และสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ 2.01-3.00 มากที่สุด รองลงมา คือระดับสูงกว่า 3.00 ขึ้นไป และ 1.00-2.00 ตามลำดับ ประสบการณ์ในการเรียนโดยใช้ระบบการเรียนการสอนแบบ E-learning ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีประสบการณ์ในการเรียนการสอนแบบ E-learning มากกว่าไม่มีประสบการณ์ ความต้องการให้นำระบบการเรียนการสอนแบบ E-learning ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีความต้องการให้นำระบบการเรียนการสอนแบบ E-learning มาใช้ในสถาบันมากกว่าไม่ต้องการ

สรุปผลการวิจัย ส่วนที่ 2 ด้านรับรู้ประโยชน์ (Perceived Usefulness) ที่มีต่อทัศนคติในการใช้ระบบ E-learning มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 3.42 อยู่ในระดับความคิดเห็นปานกลาง ด้านรับรู้ถึงการใช้งาน (Perceived Ease of Use) ที่มีต่อทัศนคติในการใช้ระบบ E-learning มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.45 อยู่ในระดับความคิดเห็นด้วยมาก ด้านเงื่อนไขในการอำนวยความสะดวก (Facilitating conditions) ที่มีต่อทัศนคติในการใช้ระบบ E-learning มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 3.93 อยู่ในระดับความคิดเห็นด้วยมาก ทัศนคติที่มีต่อการใช้ระบบ E-learning ของผู้ตอบแบบสอบถาม มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 3.97 อยู่ในระดับความคิดเห็นด้วยมาก สุดท้ายคือทัศนคติที่มีต่อการใช้ระบบ E-learning ทางด้านการเรียนผ่านระบบ E-learning ช่วยเสริมการเรียนในชั้นเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.84 อยู่ในระดับความเห็นด้วยมาก และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.88

สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่าทัศนคติเกี่ยวกับการนำระบบ E-learning มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของทุกระดับการศึกษา และทุกสาขาอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก จากการวิเคราะห์สังเกตได้ว่าประโยชน์ที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนผ่านระบบ E-learning มีมากมาย ไม่ว่าจะเป็นความสะดวก ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทาง ทำให้การจัดสรรเวลาในการเรียนผ่านระบบ E-learning ยืดหยุ่นขึ้น จึงเป็นเหตุผลที่ทำให้ทัศนคติเกี่ยวกับการนำระบบ E-learning มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ทำให้ทัศนคติที่มีต่อการนำระบบ E-learning มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนไม่แตกต่างกันมากนัก อีกทั้งยังเป็นการประหยัดเวลาและค่าเดินทาง, ช่วยขยายโอกาสทางการศึกษา สามารถวัดผลการเรียนรู้ได้ทันที เข้าเรียนได้โดยไม่จำกัดจำนวนผู้เรียนและเวลาที่เรียน

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ