การประชุมชี้แจง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้ เพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำ และสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
Advertisements

สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานกรรมการหอการค้าไทย วันพุธที่ 21 ธันวาคม 2554 ณ ห้องคริสตัล ฮอลล์ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
บทบาทข้าราชการฝ่ายปกครอง กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
นโยบายด้านบริหาร.
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ประเทศไทยจะผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ที่มีคุณภาพ, มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีมูลค่าส่งออกมากกว่า 4 แสนล้านบาทต่อปี
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
สรุปการประชุมระดมความคิด
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
Evaluation of Thailand Master Plan
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมชี้แจง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้ เพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำ และสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555

1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ 1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ 1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อวางแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะยาวที่คำนึงถึงการบริหารความเสี่ยงอันอาจเกิดขึ้นจากภัยพิบัติทาง ธรรมชาติด้านต่างๆ และการยกระดับคุณภาพโครงสร้างพื้นฐานของประเทศให้ทัดเทียมมาตรฐานสากล เพื่อเสริมสร้าง ศักยภาพการแข่งขันและลดต้นทุนการบริหารความเสี่ยงของภัยพิบัติและวิกฤติการณ์ต่างๆ ของภาคการผลิตและ บริการของประเทศ 1.2 เป้าหมายในการดำเนินงานของ กยอ. 1.2.1 เป้าหมายระยะสั้น การสร้างความมั่นใจให้กับประชาชนและนักลงทุนว่าก่อนฤดูฝนปี 2555 จะมีการบริหาร จัดการน้ำเพื่อมิให้เกิดวิกฤตอุทกภัย และมีการลงทุนที่จำเป็นในการป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงและมีผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมสูง 1.2.2 เป้าหมายระยะยาว การพัฒนาประเทศเพื่อลดความเสี่ยงของอุทกภัยหรือหลีกเลี่ยงความเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นจากอุทกภัยอย่างถาวร โดยพิจารณาการลงทุนในระบบการบริหารจัดการน้ำ โครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาเมืองและพื้นที่อุตสาหกรรม การปรับระบบการผลิตภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตร การปรับปรุง กฎระเบียบภาครัฐที่เกี่ยวข้อง การจัดหาแหล่งเงินทุน 1.3 ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ อยู่บนพื้นฐานแนวคิดการบริหารจัดการความ เสี่ยงและภาวะวิกฤต และการบริหารจัดการเพื่อความต่อเนื่องในการดำเนินธุรกิจ (BCM) ซึ่งครอบคลุมประเด็นการ พัฒนาทั้งการจัดการปัญหาน้ำและอุทกภัย การจัดการภัยพิบัติจากธรรมชาติ และสถานการณ์วิกฤตอื่นๆ ที่ไม่ได้เกิด จากธรรมชาติ ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้

1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) 1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) 1.1 ยุทธศาสตร์ปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ (อยู่ภายใต้วงเงิน 10,000 ล้านบาท) โดย การปรับโครงสร้างเพื่อการป้องกันภาคการผลิตและบริการจากความเสี่ยงจากภัยพิบัติและสถานการณ์วิกฤติ สนับสนุนภาคธุรกิจเพื่อการเตรียมระบบการป้องกัน ปรับตัว และรับมือต่อสถานการณ์ภัยพิบัติและสถานการณ์วิกฤตได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสนับสนุนให้อุตสาหกรรมต่างๆ ที่สำคัญใช้แนวทาง Business Continuity Management เพื่อลด ความเสี่ยงและปกป้องห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมให้ดำเนินการต่อเนื่องได้ในสถานการณ์วิกฤต แนวทาง Otagai Business Continuity (หมายถึง การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เมื่อเกิดภัย) ที่ผู้เชี่ยวชาญจาก JICA เสนอ กล่าวคือ ส่งเสริมให้ ธุรกิจสร้างเครือข่ายการผลิตสำรองในช่วงเกิดภัยพิบัติ หรือที่เรียกว่า Sister Clusters: ที่บริษัทขนาดใหญ่และกลุ่มบริษัท ที่อยู่ในห่วงโซ่การผลิตเดียวกัน ตั้งฐานการผลิตตลอดห่วงโซ่การผลิตในหลายพื้นที่เพื่อกระจายความเสี่ยง และมีข้อตกลง ความร่วมมือช่วยเหลือกันระหว่างบริษัทที่ผลิตสินค้าประเภทเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เพื่อให้การสนับสนุนชิ้นส่วนสำหรับ การผลิตให้กันและกัน ในกรณีที่เกิดสถานการณ์วิกฤต แผนภาพที่ 1 แนวคิดการพัฒนาเครือข่ายการผลิตสำรองในช่วงภัยพิบัติหรือสถานการณ์วิกฤติ

1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) 1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) 2) การปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ เพื่อยกระดับศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม หลักอย่างยั่งยืน (อยู่ภายใต้วงเงิน 10,000 ล้านบาท) โดยมีกิจกรรมที่ต้องให้ความสำคัญ ได้แก่ 2.1) ภาคเกษตร ให้ความสำคัญกับการดูแลและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาค เกษตรเพื่อความยั่งยืน • การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืน โดย รักษา ป้องกัน และคุ้มครองพื้นที่ที่มีศักยภาพทางการเกษตรและสนับสนุนให้เกษตรกรรายย่อยมี ที่ดินเป็นของตนเองหรือมีสิทธิทำกินในที่ดิน พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาค การเกษตร การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำภาคเกษตร • การเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตภาคเกษตร ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนา ให้มีประสิทธิภาพรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ส่งเสริมบทบาทของสถาบัน เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน องค์กรชุมชน และเกษตรกร ในการพัฒนาการผลิต พัฒนาระบบ เกษตรกรรมยั่งยืน รวมทั้งสนับสนุนการบริหารจัดการและการสร้างนวัตกรรมตลอดห่วงโซ่การผลิต สินค้าเกษตร เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพาตนเองด้านอาหารและพลังงาน และคงความเป็น ผู้นำด้านการเกษตรของโลกในอนาคตได้อย่างยั่งยืน • การสร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิต โดยสนับสนุนการผลิตและ บริการของชุมชนในการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร อาหาร และพลังงาน โดยพัฒนาเศรษฐกิจจาก ฐานทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น บนฐานความรู้ที่สร้างสรรค์เพื่อ สร้างเอกลักษณ์ของสินค้า ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้า และมาตรฐานระบบการผลิตสินค้า เกษตรให้เทียบเท่าระดับสากล 2.2) ภาคอุตสาหกรรม เสริมสร้างจุดแข็งของอุตสาหกรรมที่ไทยให้สามารถยกระดับความสามารถในการ แข่งขันได้อย่างยั่งยืน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ไทยมีศักยภาพทางการแข่งขันสูง เช่น อุตสาหกรรม ยานยนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป โดย • มุ่งเน้นการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อุตสาหกรรม หลัก และส่งเสริมการสร้างเครือข่ายวิสาหกิจของอุตสาหกรรมหลัก

1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) • ส่งเสริมให้อุตสาหกรรมสมัยใหม่พัฒนาบนฐานการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับคุณภาพมาตรฐาน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • เพิ่มผลิตภาพและประสิทธิภาพภาคอุตสาหกรรม และยกระดับมาตรฐานการผลิต สนับสนุนการ ประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการสร้างคุณค่าสินค้าอุตสาหกรรม • ส่งเสริมการเชื่อมโยงการผลิตภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่กับอุตสาหกรรมท้องถิ่น และ กระจายการพัฒนาอุตสาหกรรมไปสู่ภูมิภาค 2.3) ภาคบริการ โดยส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มของสาขาบริการที่มีศักยภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมบน ฐานความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม โดย • เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจบริการที่มีศักยภาพสู่ธุรกิจเชิง สร้างสรรค์ โดยอาศัยความได้เปรียบของทำเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ความเป็นไทย • ขยายฐานการผลิตและการตลาดของภาคธุรกิจบริการที่มีศักยภาพออกสู่ตลาด ต่างประเทศ สนับสนุนมาตรการด้านการเงินและภาษีให้ทัดเทียมกับประเทศคู่แข่ง ส่งเสริมการ ค้นหาและบุกเบิกตลาดใหม่ๆ ที่มีศักยภาพ เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือของธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง กับการลงทุนในตลาดต่างประเทศ • พัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการลงทุนในภาคบริการทั้งในประเทศและดึงดูดการลงทุน จากต่างประเทศในภาคบริการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการของโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนา ระบบฐานข้อมูลภาคบริการโดยรวมของประเทศและข้อมูลเชิงลึกในสาขาบริการที่มีศักยภาพ • ฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด พัฒนา แหล่งท่องเที่ยวหลักที่เสื่อมโทรม พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจของธุรกิจท่องเที่ยวในกลุ่มพื้นที่ที่มี ศักยภาพสูง • บริหารจัดการการท่องเที่ยวให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ยกระดับมาตรฐานสินค้าและบริการ พัฒนา และบูรณาการการท่องเที่ยว ให้เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งสาขาการผลิตและบริการอื่นๆ

1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) 1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) 1.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ (อยู่ภายใต้วงเงิน 10,000 ล้านบาท) โดย การพัฒนาพื้นที่ระดับประเทศ ส่งเสริมให้เกิดการกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจในระดับประเทศและภาค การกำหนดบทบาทและทิศทางการพัฒนาของประเทศที่กระตุ้นให้เกิดการเติบโตและเชื่อมโยงของสาขา ต่างๆ ทางเศรษฐกิจ การพัฒนาพื้นที่ในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศให้เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมืองชายแดนเป็นประตูเชื่อมโยงเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน การบูรณาการแผนพัฒนาพื้นที่เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน 1.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (อยู่ภายใต้วงเงิน 10,000 ล้านบาท) ประกอบด้วย 1) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบคมนาคมขนส่ง ควรมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ โครงสร้างพื้นฐานให้สามารถรองรับความต้องการในการขนส่งได้อย่างเพียงพอ และปรับรูปแบบการขนส่ง ไปสู่ระบบรางและการขนส่งทางน้ำที่ประหยัดพลังงาน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการปรับปรุง โครงข่ายการขนส่งเพื่อลดผลกระทบและสามารถแก้ไขปัญหาอุทกภัยได้ในระยะยาว โดยสรุปได้ดังนี้ 1.1) การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งเชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญและเมืองหลักในภูมิภาค • เพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งระบบรางตามแผนการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานของ รฟท. ระยะเร่งด่วน พ.ศ. 2553 – 2558 (วงเงินลงทุนรวม 176,808 ล้านบาท) เพื่อให้ระบบรถไฟเป็น ระบบหลักในการขนส่งสินค้าจากพื้นที่การผลิตหลัก ภายในประเทศเชื่อมโยงกับท่าเรือแหลม ฉบัง รวมทั้งการพัฒนาศูนย์การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ เพื่อเชื่อมโยงการขนส่งระหว่าง ระบบถนน การขนส่งทางน้ำ และทางอากาศ และพัฒนาระบบบริหารจัดการขนส่งสินค้า และการ พัฒนาระบบ National Single Window e-Logistics เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนด้าน โลจิสติกส์ • พัฒนาระบบโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองและทางหลวงสายหลักเชื่อมโยงเมืองหลัก ในภูมิภาค

1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) 1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) 1.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (ต่อ) 1) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบคมนาคมขนส่ง 1.2) การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งในพื้นที่เมือง • เร่งรัดการพัฒนาโครงข่ายขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลให้ครอบคลุมพื้นที่ บริการเพิ่มขึ้นและสอดคล้องกับการขยายตัวของเมืองและการใช้ประโยชน์ที่ดิน • พิจารณาความเหมาะสมในการปรับรูปแบบโครงการทางหลวงสายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3 (แนวเส้นทางด้านตะวันออก) ให้สามารถรองรับการระบายน้ำเพื่อป้องกันปัญหาอุทกภัยใน พื้นที่กทม. รวมทั้งรองรับการขยายตัวของเมือง และบรรเทาปัญหาการจราจรในพื้นที่เมืองชั้นใน 1.3) การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน เตรียมการพัฒนาระบบรถไฟความเร็วสูง และพัฒนาโครงข่ายทางหลวง และทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนที่สำคัญตามแนวระเบียงเศรษฐกิจฝั่ง ตะวันออก – ตะวันตก แนวเหนือ – ใต้ และการเชื่อมโยงกับพื้นที่เศรษฐกิจในประเทศเพื่อนบ้านในฝั่ง ตะวันตก (ทวาย) รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเข้าสู่ AEC ปี2558 1.4) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งทางอากาศและทางน้ำเชื่อมโยงระหว่างประเทศ • ขยายขีดความสามารถและคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิให้มีความทันสมัย และสามารถรองรับ ปริมาณการจราจรทางอากาศได้เป็นปีละ 65 ล้านคน ตามโครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 รวมทั้ง พัฒนาระบบ IT ให้ทัดเทียมกับท่าอากาศยานสากลหลักในต่างประเทศ เพื่อยกระดับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิให้เป็น ท่าอากาศยานสากลหลักในอนุภูมิภาค • พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการท่าเรือแหลมฉบังให้มีความทันสมัย และพัฒนา IT ของท่าเรือแหลมฉบังให้ก้าวไปสู่ การเป็นท่าเรืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Port) ที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายการขนส่งทางทะเลกับท่าเรือหลักทวีปต่าง ๆ ของ โลก และการเตรียมการพัฒนาขยายขีดความสามารถให้เป็นประตูการขนส่งระหว่างประเทศในอนุภูมิภาค

1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) 1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) 2) การสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน แสวงหาและพัฒนาแหล่งพลังงานใหม่ทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะการสร้างความร่วมมือด้านการ พัฒนาแหล่งพลังงานกับประเทศเพื่อบ้านในฝั่งตะวันตก (ทวาย) พัฒนาเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทน ภายในประเทศ 3) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม พัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมเพื่อให้บริการสื่อสารข้อมูลความเร็วสูงหรือบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ เพื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการและพัฒนาระบบการให้บริการภาครัฐผ่าน โครงข่ายสื่อสารความเร็วสูง และสนับสนุนผู้ประกอบการ SME ให้สามารถใช้ประโยชน์จากบริการสื่อสาร ความเร็วสูงและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขัน และสร้างรายได้ 1.4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการประกันภัย (วงเงิน 50,000 ล้านบาท) การพัฒนาระบบประกันภัยเพื่อให้เป็นกลไกสำคัญในการสร้างหลักประกันความมั่นคงเศรษฐกิจและสังคม ทุกระดับ ในการรองรับความเสี่ยงจากภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น 1) การเสริมสร้างความเชื่อมั่นและสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการประกันภัยให้สังคมและ ประชาชน โดยสร้างความรู้ความเข้าใจด้านประกันภัยให้กับสังคมและประชาชน และต้องมีการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้สอดคล้องกับความเสี่ยงของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม รวมทั้งกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยให้เกิดความเป็นธรรมกับทุกภาคส่วน 2) การสร้างมาตรฐานและการให้บริการคุ้มครองสิทธิแก่ผู้เอาประกันทุกภาคส่วนร่วม 3) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อพัฒนาระบบประกันภัยให้เข้มแข็ง โดยการปรับปรุงกฎหมายและ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัยให้ให้มีประสิทธิภาพ ทันสมัย สอดคล้องกับสภาพการณ์ เป็นไปตามมาตรฐานสากล 4) การศึกษาความเป็นไปได้ในการตั้งกองทุนมหันตภัย เพื่อเป็นกลไกหลักในการสร้างความมั่นคงและ ช่วยเหลือทุกภาคส่วนที่ได้รับรับความเดือดร้อนจากภัยพิบัติ

1.5 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (วงเงิน 340,000 ล้านบาท) 1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (ต่อ) 1.5 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (วงเงิน 340,000 ล้านบาท) การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อป้องกัน บรรเทา และลดความเสียหายที่เกิดขึ้น จากอุทกภัยขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ รวมทั้งการสร้างความมั่นใจ ความมั่นคง เพิ่ม รายได้ ในการดำรงชีวิตของเกษตรกร สังคมเมือง และเศรษฐกิจของประเทศ บริหาร จัดการทรัพยากรน้ำ ดิน และป่าไม้ให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน ระยะสั้น: สำรองไว้กรณีฉุกเฉินเมื่อเกิดอุทกภัย ระยะยาว: แผนงาน/โครงการรองรับเพื่อป้องกันและบรรเทาด้านภัยพิบัติแห่งชาติ เป็นต้น

www.nesdb.go.th 10