นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30 งาน วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.11
องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นอาจกล่าวได้ว่าประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีสองสาขาหลักคือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม สำหรับรายละเอียดพอสังเขปของแต่ละเทคโนโลยีมีดังต่อไปนี้คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจำข้อมูลต่าง ๆ และปฏิบัติตามคำสั่งที่บอก เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ คอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อเชื่อมกันเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์นี้จะต้องทำงานร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกกันว่า ซอฟต์แวร์ (Software) www.themegallery.com Company Logo
เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารรับ/ส่งข้อมูล จากที่ไกลๆ เป็นการส่งของข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมือที่อยู่ ห่างไกลกัน ซึ่งจะช่วยให้การเผยแพร่ข้อมูลหรือสารสนเทศไปยังผู้ใช้ในแหล่งต่าง ๆ เป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และทันการณ์ ซึ่งรูปแบบของข้อมูลที่รับ/ส่งอาจเป็นตัวเลข (Numeric Data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) และเสียง (Voice) เทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสารหรือเผยแพร่สารสนเทศ ได้แก่ เทคโนโลยีที่ใช้ในระบบโทรคมนาคมทั้งชนิดมีสายและไร้สาย เช่น ระบบโทรศัพท์, โมเด็ม, แฟกซ์, โทรเลข, วิทยุกระจายเสียง, วิทยุโทรทัศน์, เคเบิ้ลใยแก้วนำแสง คลื่นไมโครเวฟ และดาวเทียม เป็นต้น www.themegallery.com Company Logo
เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ฟิสิกส์ (ฟิสิกส์เกี่ยวกับอะตอม-ปรมาณู,โมเลกุลและเคมีฟิสิกส์,นิวเคลียร์ฟิสิกส์,การแผ่รังสี, การสะท้อนของแม่เหล็ก-เกี่ยวกับเสียงอื่นๆ,การควบแน่น ภาวะตัวนำยิ่งยวด, เลเซอร์ออปติกส์,ควอนตัน,ดาราศาสตร์,วิทยาศาสตร์อวกาศ และวิชาฟิสิกส์อื่นๆ ที่ใกล้เคียงกัน) วิทยาศาสตร์เคมี (เคมีอินทรีย์,เคมีอนินทรีย์และเคมีนิวเคลียร์,เคมีฟิสิกส์,โพลีเมอร์,เคมีอิเล็กทรอนิกค์ เช่น เซลล์แห้ง,แบตเตอรี่,เซลล์เชื้อเพลิง,กัดกร่อนโลหะ,การแยกสารประกอบเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า,คอลลอยด์,เคมีวิเคราะห์และวิชาเคมีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง) วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (เซลล์วิทยา,จุลชีววิทยา,ไวรัสวิทยา,ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล,เห็ดราวิทยา,ชีวฟิสิกส์,พันธุศาสตร์,พฤกษศาสตร์,แบคทีเรียวิทยาจุลชีววิทยา,สัตววิทยา,กีฏวิทยา วิชาอื่นๆ ที่ใกล้เคียงกัน ยกเว้น วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการรักษาสัตว์และ คลินิค) วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (วิทยาศาตร์ด้านพื้นดิน-ธรณีวิทยา,ภูมิศาสตร์กายภาพและวิชาเกี่ยวกับแร่,ฟอสซิล,ปฐพีเคมี, ธรณีฟิสิกส์,อุตุนิยมวิทยา, วิทยาศาสตร์ด้านบรรยากาศ-ภูมิอากาศ, ภูมิศาสตร์ทางทะเล สมุทรศาสตร์,อุทกศาสตร์,ทรัพยากรน้ำ และที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมอื่นๆ) www.themegallery.com Company Logo
www.themegallery.com Company Logo
การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีทำให้ทราบปัจจัยในด้านต่างๆ เทคโนโลยีมีมากมายหลายชนิดเช่น เทคโนโลยีวัสดุ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีพันธุกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น การจัดกลุ่มของเทคโนโลยีเมื่อพิจารณา จากองค์ประกอบ สามารถบ่างออกได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ เทคโนโลยีที่เป็นการสร้าง ได้แก่ การที่มนุษย์ได้สร้างสิ่งของ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ โดยใช้ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น www.themegallery.com Company Logo
เทคโนโลยีที่เป็นวิธีการ ได้แก่ การที่มนุษย์ได้เลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่งในการทำงาน เพื่อให้ได้รับความสะดวกสบาย มีชีวิตที่ง่ายขึ้น เช่น การซักผ้าอาจจะซักด้วยมือหรือใช้เครื่องซักผ้า www.themegallery.com Company Logo