สารสกัดจากก้านเห็ดหอมแห้งที่มีเลนไธโอนีนเป็นส่วนประกอบ Extraction of essential oil contianing Lenthionine from dried Shiitake
บทนำ เลนไธโอนีนเป็นสารประกอบที่มีอยู่ในเห็ดหอม มีสรรพคุณทางยามากมาย และมีกลิ่นเฉพาะตัว โดยทั่วไปการผลิตเห็ดหอมนั้นจะใช้แต่เพียงส่วนดอกเท่านั้น แต่ก้านเห็ดหอมจะถูกทิ้งไป
บทนำ เพื่อเป็นการลดของเสียและเพิ่มมูลค่าของก้านเห็ดหอม จึงนำมาสกัดเลนไธโอนีน สารสกัดที่ได้สามารถนำไปใช้ในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเห็ดหอม เช่นในซอสและเครื่องปรุงรส หรือใช้เพิ่มกลิ่นให้กับเห็ดหอมแห้ง เป็นต้น
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการสกัด ในที่นี้คือ การกลั่นแบบธรรมดา และการกลั่นด้วยไอน้ำ และผลของวิธีการสกัดต่อปริมาณและคุณภาพ 2. เพื่อศึกษาองค์ประกอบของสารที่สกัดได้ และประสิทธิภาพการสกัด รวมถึงวิเคราะห์ต้นทุนในการสกัด
วิธีการทดลอง Reflux 5 hrs. วิเคราะห์คุณภาพด้วย GC ก้านเห็ดหอมแห้งปั่น 1. แช่ข้ามคืนในน้ำ 2.ไม่ต้องแช่น้ำ ใช้ตัวอย่างแห้ง 1.แช่ด้วย 0.2 M Tris-HCl pH 9 ข้ามคืน และสกัดด้วย diethyl ether 2.แช่ด้วยน้ำข้ามคืน และสกัดด้วยคลอโรฟอร์ม 3. แช่ด้วยเอธานอลข้ามคืน และสกัดด้วยเฮกเซน แช่ข้ามคืนด้วย 1.น้ำ 2.เอธานอล 3.น้ำ+เอธานอล (50:50) แยกน้ำมันหอมระเหย 1.ในน้ำ – สกัดด้วย คลอโรฟอร์ม 2.ในเอธานอล - ระเหยในตู้ควันโดยไม่ใช้ความร้อน กลั่นด้วยไอน้ำ (steam distillation) ระเหยตัวทำละลายในตู้ควันโดยไม่ใช่ความร้อน วิเคราะห์คุณภาพด้วย GC
วิธีการทดลอง ก้านเห็ดหอมแห้งปั่น แช่เอธานอล 3 ชม. Reflux 5 hrs. แช่ด้วยเอธานอล 6, 4, 2, 1 คืน โดย เห็ดหอมปั่น 50 กรัม ในเอธานอล 300 ml. แช่ด้วย 0.2 M Tris-HCl pH 9 3 ชม. และสกัดด้วย diethyl ether แช่เอธานอล 3 ชม. แยกน้ำมันหอมระเหย ด้วยการกลั่นเอาเอธานอลกลับมาใช้และระเหยต่อด้วย water bath กลั่นแยกน้ำมันหอมระเหย ระเหยตัวทำละลายในตู้ควันโดยไม่ใช่ความร้อน วิเคราะห์คุณภาพด้วย GC
ปัญหาที่พบ การสกัดสารออกมาจากน้ำด้วยคลอโรฟอร์ม ไม่สามารถทำได้ ทั้งน้ำจากการ Reflux และน้ำที่แช่เห็ดไว้ 1 คืน การสกัดด้วยวิธีการ Reflux โดยที่แช่ในน้ำและเอธานอล (50:50) 1 คืน เมื่อนำไประเหยในตู้ควันพบว่า ไม่สามารถแยกน้ำมันออกมาจากชั้นน้ำได้
ปัญหาที่พบ การสกัดด้วยวิธีการ Reflux โดยที่แช่ในเอธานอล 1 คืน และการสกัดด้วยเฮกเซน เมื่อนำไประเหยและแยกน้ำมันออกมาพบว่า จะมีตะกอนสีขาวขุ่นเกิดขึ้น
ปัญหาที่พบ การสกัดด้วยสารเคมีโดยแช่ด้วย 0.2 M Tris-HCl pH 9 และสกัดด้วย diethyl ether เมื่อระเหย diethyl ether ออกพบว่าจะเกิดเป็นคราบสีดำ แห้งติดก้นขวด
ปัญหาที่พบ การกลั่นด้วยไอน้ำ จะมีน้ำขังขณะที่ทำการกลั่น ทำให้ ไอไม่สามารถผ่านไปได้ และผลที่ได้ต่ำมาก
ปัญหาที่พบ ระยะเวลาที่ใช้ระเหยในตู้ควันค่อนข้างนาน จึงเปลี่ยนมาใช้วิธีระเหยด้วย water bath
ผลการทดลอง วิธีการทดลองที่ % Yield ลักษณะ 1 เอธานอล 11.386 % Yield ลักษณะ 1 เอธานอล 11.386 - ของเหลวใสสีน้ำตาลอ่อน เมื่อทิ้งไว้จะเกิด ตะกอนขาว - มีกลิ่นเห็ดหอมจางๆ 2 - 3 เนื้อ 1.577 - ของเหลวใสสีน้ำตาลอ่อน เอธานอล 2.871 4 12.834 - เกิดตะกอนขาวเมื่อทิ้งไว้
ผลการทดลอง วิธีการทดลองที่ % Yield ลักษณะ 5 แช่ 1 คืน 5.361 % Yield ลักษณะ 5 แช่ 1 คืน 5.361 - ของเหลวข้นหนืดสีน้ำตาล - มีกลิ่นเห็ดหอมปานกลาง - เกิดตะกอนขาวเมื่อทิ้งไว้ แช่ 2 คืน 5.432 - ของเหลวข้นหนืดสีน้ำตาลเข้ม - มีกลิ่นเห็ดหอมปานกลาง-มาก แช่ 4 คืน 5.791 - ของเหลวข้นหนืดสีน้ำตาล - มีกลิ่นเห็ดหอมปานกลาง แช่ 6 คืน 6.305 - ของเหลวสีน้ำตาลเข้ม 6 5.446 - ของเหลวสีเหลืองอ่อนๆ - มีกลิ่นเห็ดหอมจางๆ
แนวทางการแก้ไขปัญหา การกลั่นด้วยไอน้ำ เนื่องจากมีน้ำขังเกิดขึ้นจึงแก้ด้วยการใส่ลูกแก้วเข้าไปในชุดกลั่นด้วยเพื่อป้องกันการเกิดน้ำขัง
แนวทางการแก้ไขปัญหา เปลี่ยนมาใช้วิธีการกลั่นก่อนระเหยด้วย water bath และยังสามารถกลั่นเอาเอธานอลนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกด้วย
สรุป วิธีที่ 5 -ปริมาณ yield ที่มากและมีลักษณะทางกายภาพและ กลิ่นที่ ยอมรับได้ที่สุด -นำEthanol กลับมาใช้ใหม่ได้ -Ethanol ยังเป็นสารเคมีที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
วิเคราะห์ค่าใช้จ่าย สารสกัด 1 กรัม ค่าใช้จ่าย (บาท) ค่าไฟฟ้า 0.476 ค่าน้ำ 0.00024 *ค่าเอธานอล 8.95 รวม 9.426 * กรณีใช้เอธานอลใหม่
สิ่งที่จะทำต่อไป ผลที่ได้ วัด GC ผสมลงในซีอิ๊ว ทำ sensory test
ผู้จัดทำ 1. นางสาวจารุศิริ วงศ์คำ 2. นางสาวณาตยา พรประสิทธิ์ 3. นางสาวศศิพร ศรีบุญเรือง อาจารย์ที่ปรึกษา อ. ดร. กนกอร โพธินันท์