งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การใช้ชุดตรวจวิเคราะห์ดิน ดร. ชูชาติ สันธทรัพย์ ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร ต่อ โทรสาร

2 ชุดตรวจวิเคราะห์ดิน ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร ต่อ โทรสาร

3 อุปกรณ์ที่มาพร้อมชุดตรวจวิเคราะห์ดิน
1. หลอดทดลอง 8 หลอด 2. ชั้นวางหลอดทดลอง 1 อัน 3. ขวดเขย่าและรองรับสารละลายดิน 10 ขวด 4. หลอดฉีดยา 2 อัน 5. ปิเปตดูดสารละลาย 13 อัน 6. กระดาษกรอง 45 แผ่น 7. กรวยกรอง 5 อัน 8. ช้อนตักตัวอย่างดิน 2 อัน 9. จานสี 1 อัน

4 1. ชุดตรวจวัด pH ของดิน น้ำยา & อุปกรณ์ 1. น้ำยาที่ 1 2. น้ำยาที่ 2
1. น้ำยาที่ 1 2. น้ำยาที่ 2 3. น้ำยาที่ 3 4. น้ำยาที่ 4 5. แผ่นเทียบสี 6. ไม้คนสาร 7. จานสี ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร ต่อ โทรสาร

5 วิธีการหาค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน (pH)
หยดน้ำยาที่ 2 น้ำยาที่ 1 น้ำยาที่ 3 น้ำยาที่ 2 น้ำยาที่ 4

6 # 1 # 2 ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร ต่อ โทรสาร

7 ความสัมพันธ์ระหว่าง pH ดินและความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร
ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร ต่อ โทรสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง pH ดินและความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร

8 2. ชุดตรวจวิเคราะห์ความต้องการปูน
น้ำยา & อุปกรณ์ 1. น้ำยาบัฟเฟอร์ 2. น้ำยาที่ 2 และ 3 3. แผ่นเทียบสี 4. ช้อนตักตัวอย่าง 5. ปิเปตดูดสาร 6. หลอดฉีดยา 7. หลอดผสมสาร 8. ไม้คนสาร ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร ต่อ โทรสาร

9 วิธีการหาค่าความต้องการปูนของดิน
เติมน้ำยา (1 หยด) น้ำยาที่ น้ำยาที่ 3 ทิ้งไว้ 30 นาที คนทุก ๆ 10 นาที ดูดส่วนที่ใส 4 หยด ดิน 1 ส่วน (3 ช้อน) น้ำยาบัพเฟอร์ 1 ส่วน (3 มล.) อ่านค่าตัวเลข แผ่นเทียบสีมาตรฐาน

10 ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร
ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร ต่อ โทรสาร

11 การประเมินผลความต้องการปูนของดิน
pH ของบัฟเฟอร์ ปริมาณปูนที่ต้องใช้ (กิโลกรัม / ไร่) หินปูน (CaCO3) โดโลไมท์ [CaMg(CO3)2] ปูนขาว (Ca(OH)2) 6.80 169 155 125 6.60 338 311 250 6.40 507 466 375 6.20 697 641 516 6.00 866 797 5.80 1077 991 5.60 1331 1224 985 5.40 1668 1535 1235 5.20 2154 1982 1594 ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร ต่อ โทรสาร

12 3. ชุดตรวจวิเคราะห์ฟอสฟอรัส
น้ำยา & อุปกรณ์ 1. น้ำยา P1 2. น้ำยา P2 3. ผงพัฒนาสี 4. น้ำยา P3 5. สารละลามาตรฐาน P1 2 3 6. ชั้นวางหลอดทดลอง 7. หลอดทดลอง 8. ปิเปตสำหรับดูดสาร 9. ช้อนตักตัวอย่างดิน 10. ขวดสกัดสารและรองรับสารละลาย 11. กรวยกรอง & กระดาษกรอง 12. หลอดฉีดยา ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร ต่อ โทรสาร

13 วิธีการหาปริมาณฟอสฟอรัสในดิน
สกัด กรอง ทำให้เกิดสี น้ำยาที่กรองได้ 1 มล. ตัวอย่าง + น้ำยาทำสี 1 มล. + น้ำยา P3 3 มล. ดิน 1 ช้อน : น้ำยา P1 10 มล. ความเข้มข้นของ ฟอสฟอรัสมาตรฐาน P P P3

14 การประเมินผลของค่าฟอสฟอรัสที่วิเคราะห์ได้
การเปรียบเทียบ ความเข้มของสี ตัวอย่าง < P1 P1 < ตัวอย่าง < P2 P2 < ตัวอย่าง < P3 ตัวอย่าง > P3 Conc. P in soil (mg P/ 1 kg ของดิน) <10 > 100 เกณฑ์การประเมิน ต่ำ ปานกลาง สูง สูงมาก

15 4. ชุดตรวจวัดปริมาณโพแทสเซียมในดิน
น้ำยา & อุปกรณ์ 1. น้ำยา K1 2. น้ำยา K2 3. น้ำยา K3 4. สารละลามาตรฐาน P1 2 3 5. ชั้นวางหลอดทดลอง 6. หลอดทดลอง 7. หลอดฉีดยา 8. ปิเปตสำหรับดูดสาร 9. ช้อนตักตัวอย่างดิน 10. ขวดสกัดสารและรองรับสารละลาย 11. กรวยกรอง & กระดาษกรอง 12. เส้นเปรียบเทียบความขุ่น ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร ต่อ โทรสาร

16 วิธีการหาปริมาณโพแทสเซียมในดิน
สกัด กรอง ทำให้เกิดสี น้ำยาที่กรองได้ 1 มล. ตัวอย่าง + น้ำยาK2 10 หยด + น้ำยาK มล. ดิน 2 ช้อน : น้ำยา K1 8 มล. ความเข้มข้นของ โพแทสเซียมมาตรฐาน K K K3

17 สารละลายมาตรฐาน K STD K1 STD K2 STD K3 ตัวอย่าง
ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โทร ต่อ โทรสาร

18 การประเมินผลของค่าโพแทสเซียมที่วิเคราะห์ได้
การเปรียบเทียบ ความขุ่นของตะกอน Sample < K1 K1 < sample < K2 K2 < sample < K3 sample > K3 Conc. K in soil (mg K/ 1 kg ของดิน) <60 > 300 เกณฑ์การประเมิน ต่ำ ปานกลาง สูง สูงมาก


ดาวน์โหลด ppt คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google