แนะนำคู่มืออบรมหลักสูตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การแต่งกายของนักเรียน
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
นโยบายกรมอนามัย : โครงการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
ชี้แจงการแบ่งกลุ่ม Workshop : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 ห้อง รูปแบบการเรียนรู้ : ไม่หมุนฐานใหญ่ ห้องที่ 1 : การติดตามภาวะโภชนาการและฝึก ปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป.
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนะนำคู่มืออบรมหลักสูตร “เจริญรอยตามพระยุคลบาท พัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส” สำหรับทีมวิทยากร ระดับจังหวัด - เขต นางสาววรลักษณ์ คงหนู สำนักโภชนาการ 5 มกราคม 2558

โครงการเด็กไทยแก้มใส วัตถุประสงค์ เพื่อเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี โดยการน้อมนำรูปแบบที่ดี (Best Practice Model) ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียนอย่างครบ วงจร ในโครงการตามพระราชดำริฯ มาปฏิบัติ และพัฒนา “โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส”

องค์ประกอบของการพัฒนาอาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยในโรงเรียน 5. การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยนักเรียน นิสัยการกิน สุขนิสัยที่ดี ออกกำลังกาย การติดตามภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพ นักเรียน -ฐานข้อมูล -แปลผล -ใช้ข้อมูลในการพัฒนางาน การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน อาคารเรียน บริเวณโรงเรียน โรงอาหาร โรงครัว ห้องน้ำ ฯลฯ จัดบริการสุขภาพนักเรียน -ตรวจความสะอาดร่างกาย -ปฐมพยาบาล -หนอนพยาธิและ มาลาเรีย 3. การจัดบริการอาหาร ตามหลักโภชนาการ ตามหลักสุขาภิบาล อาหารปลอดภัย ใช้เกลือไอโอดีน มีโภชนาการสมวัย สุขภาพดี ผลการเรียนดี มีจิตสาธารณะ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพ -เกษตรผสมผสาน -สุขบัญญัติ, โภชนบัญญัติ -สุขาภิบาลอาหาร, ออกกำลังกาย -ฯลฯ 2. สหกรณ์นักเรียน -สหกรณ์ร้านค้า -ออมทรัพย์ 1. เกษตรในโรงเรียน -ปลูกพืชผัก ผลไม้ เพาะเห็ด -เลี้ยงสัตว์, ประมง ฯลฯ ขยายผลสู่ชุมชน

วิสัยทัศน์ ภายในปี 2560 เด็กทุกคนในโรงเรียน ที่เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ ทักษะ และพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค์ อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ พัฒนาตนเองสู่การมีโภชนาการสมวัย สุขภาพดี ผลการเรียนดี มีจิตสาธารณะ

ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการเด็กไทยแก้มใส ปี 58 - 60 ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการเด็กไทยแก้มใส ปี 58 - 60 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ค่าเป้าหมาย ภาวะโภชนาการนักเรียน 1.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน : มากกว่าหรือเท่ากับ +2 S.D.ขึ้นไป) 1.1 ไม่เกินร้อยละ 10 หรือลดลง อย่างน้อยร้อยละ 0.5 ต่อปี เมื่อเทียบกับถานการณ์เดิมของโรงเรียน 1.2 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะผอม (เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน : น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2 S.D.) 1.2 ไม่เกินร้อยละ 7 หรือลดลงอย่างน้อยร้อยละ 0.5 ต่อปีเมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิมของโรงเรียน 1.3 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะเตี้ย (เด็กนักเรียนที่มีส่วนสูงต่ออายุต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน : น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2 S.D.) 1.3 ไม่เกินร้อยละ 5 หรือลดลงอย่างน้อยร้อยละ 0.5 ต่อปี เมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิมของโรงเรียน

3. สุขภาพด้านอื่นๆของนักเรียน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ค่าเป้าหมาย 2. สมรรถภาพทางกาย - ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางกายเหมาะสมตามวัยใน 3 ด้าน คือ การไหลเวียนเลือด ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความอ่อนตัว ร้อยละ 70 3. สุขภาพด้านอื่นๆของนักเรียน 3.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่เป็น โรคฟันผุ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ต่อปีหรือไม่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิมของ ร.ร. 3.2 มีเหตุการณ์การระบาดของโรคอาหาร เป็นพิษ ไม่เกิน 1 ครั้ง/ปี 3.3 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่ ไม่เป็นเหา ร้อยละ 100 (ปลอดเหา) 3.4 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่ตรวจพบความผิดปกติของสายตาและการได้ยินได้รับการดูแลส่งต่อรักษา ร้อยละ 80

5. สุขนิสัยที่พึงประสงค์ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ค่าเป้าหมาย 4. การบริโภคอาหาร - ร้อยละของเด็กนักเรียนที่บริโภคอาหาร ได้ถูกต้อง ร้อยละ 70 5. สุขนิสัยที่พึงประสงค์ - ร้อยละของเด็ก นักเรียนที่มีสุขนิสัย ที่พึงประสงค์ 6. ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรแบบผสมผสานใน ร.ร. 6.1 ปริมาณผัก 6.2 ปริมาณผลไม้ 6.3 สัตว์ปีก 6.4 สัตว์น้ำ 7. ความรู้ด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ - ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีความรู้ด้านเกษตร สหกรณ์โภชนาการ และสุขภาพระดับดีขึ้นไป

จำนวนโรงเรียนที่รับทุนโครงการฯ ปีที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ จำนวนจังหวัดที่ส่งโครงการ จำนวนโรงเรียนทั้งหมด จำนวนโรงเรียนจำแนกตามสังกัด สพฐ. เทศบาล + อบต. เอกชน กทม. 1 9 - ศูนย์อนามัยที่ 1 4 20 18 ศูนย์อนามัยที่ 2 3 10 ศูนย์อนามัยที่ 3 7 48 43 2 ศูนย์อนามัยที่ 4 24 22 ศูนย์อนามัยที่ 5 74 72 ศูนย์อนามัยที่ 6 29 ศูนย์อนามัยที่ 7 92 84 6 ศูนย์อนามัยที่ 8 5 21 ศูนย์อนามัยที่ 9 46 41 ศูนย์อนามัยที่ 10 8 76 61 12 ศูนย์อนามัยที่ 11 54 50 ศูนย์อนามัยที่ 12 47 42 รวม 550 485 14

ที่จะขับเคลื่อนให้งานนี้สำเร็จ??? บุคคลสำคัญ.... ที่จะขับเคลื่อนให้งานนี้สำเร็จ??? บุคคล..ประวัติศาสตร์..

WHO AM I ? บุคคลผู้เป็นประวัติศาสตร์ เจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ด้านพัฒนาอาหาร โภชนาการและสุขภาพในโรงเรียนแบบครบวงจร “การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส” ผู้สนับสนุน “การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส” (เพื่อนคู่คิด มิตรปฏิบัติ) ประสานการทำงานโรงเรียน+ ภาคีเครือข่าย บุคลากร งบประมาณ องค์ความรู้ สื่อ/นวัตกรรม เอื้ออำนวยให้เกิดแรงบันดาล ใจในการทำงานร่วมกัน ผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ “การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส” 8 องค์ประกอบฯ เนื้อหา สื่อ/นวัตกรรม การบริหารจัดการ ความร่วมมือ การเคลื่อนงานเชิงองค์รวม บุคคลผู้เป็นประวัติศาสตร์ WHO AM I ? สสจ. สพป. ศอ. อปท. ผู้ดูแลติดตาม/เสริมสร้างพลังใจ ชื่นชมสิ่งดีงาม ติดตามเติมเต็มส่วนพร่องขาด พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการ ติดตามประเมินผล พัฒนากลไกการติดตาม ประเมินผลแบบเสริมพลัง (M&E)

หัวใจการขับเคลื่อนงาน สร้างการมีส่วนร่วม “เชื่อมโยง บูรณาการ” ขับเคลื่อนงานแบบองค์รวม

ปี 2558 เน้นบูรณาการกิจกรรมที่ 1 – 4 , 8 การติดตามภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและสุขภาพนักเรียน -ฐานข้อมูล, แปลผล, ใช้ข้อมูลในการพัฒนางาน 5. การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยนักเรียน นิสัยการกิน สุขนิสัยที่ดี ออกกำลังกาย 3. การจัดบริการอาหาร ตามหลักโภชนาการ,ตามหลักสุขาภิบาล อาหารปลอดภัย,ใช้เกลือไอโอดีน การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน อาคารเรียน บริเวณโรงเรียน โรงอาหาร โรงครัว ห้องน้ำ ฯลฯ มีโภชนาการสมวัย สุขภาพดี ผลการเรียนดี มีจิตสาธารณะ จัดบริการสุขภาพนักเรียน -ตรวจความสะอาดร่างกาย -ปฐมพยาบาล -หนอนพยาธิและ มาลาเรีย 1. เกษตรในโรงเรียน -ปลูกพืชผัก ผลไม้ เพาะเห็ด -เลี้ยงสัตว์, ประมง ฯลฯ 2. สหกรณ์นักเรียน -สหกรณ์ร้านค้า -ออมทรัพย์ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพ -เกษตรผสมผสาน, สหกรณ์ -สุขบัญญัติ, โภชนบัญญัติ -สุขาภิบาลอาหาร, ออกกำลังกาย ขยายผลสู่ชุมชน

สหกรณ์นักเรียน

ตัวอย่าง สื่อ นวัตกรรม ทางเลือกสำหรับโรงเรียน คู่มือนักวิชาการ ระดับจังหวัด - เขต คู่มือสหกรณ์นักเรียน คู่มือเกษตร คู่มือจัดทำบัญชี คู่มือผู้บริหาร ชุดเรียนรู้ฯ Thai School Lunch สถาบันโภชนาการ คู่การจัดบริการอาหาร โปรแกรมติดตามการเจริญเติบโตฯ กรมอนามัย

แนะนำ คู่มืออบรมหลักสูตร เจริญรอยตาม พระยุคลบาท พัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สำหรับทีมวิทยากร ระดับจังหวัด - เขต

สาระสำคัญ มีอะไรบ้าง??

ผู้ใช้คู่มืออบรมฯ คือใคร?? : นักวิชาการ ระดับจังหวัด – เขต ที่รับผิดชอบงาน เด็กไทยแก้มใส ด้าน การเกษตร การสหกรณ์ การศึกษา การสาธารณสุข โภชนาการ

วัตถุประสงค์ของคู่มือ ?? : ใช้เป็นแนวทางในการจัดอบรม เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะของ บุคลากรในโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ได้แก่ ผู้บริหาร ครู แม่ครัว ผู้ประกอบ อาหาร แกนนำนักเรียน ผู้ปกครอง และแกนนำชุมชน ให้มีความสามารถบริหารจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร ตามโครงการพระราชดำริ เพื่อพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

สาระสำคัญในคู่มือฯ แนวคิด หลักชัย พื้นที่เป้าหมาย ตัวชี้วัด ภาพรวม เด็กไทยแก้มใส โครงการ ภาคผนวก 1. การเกษตร ในโรงเรียน 7. การจัดบริการ สุขภาพ 8.การจัดการเรียนรู้ เกษตร โภชนาการและ สุขภาพ อนามัย 2.สหกรณ์ นักเรียน 6. การพัฒนา อนามัยสิ่งแวดล้อม 3.การจัดบริการอาหาร ของโรงเรียน 5.การพัฒนา สุขนิสัยนักเรียน 4.การติดตาม ภาวะโภชนาการ

ฐานการเรียนรู้ที่ 1 เกษตรในโรงเรียน

ฐานการเรียนรู้ที่ 2 สหกรณ์นักเรียน ฐานการเรียนรู้ที่ 2 สหกรณ์นักเรียน ส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพ เท่าเทียมกัน มีความเป็นประชาธิปไตย พึ่งพาตนเอง และพึ่งพากัน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไข

ฐานการเรียนรู้ที่ 3 การจัดบริการอาหารในโรงเรียน ฐานการเรียนรู้ที่ 3 การจัดบริการอาหารในโรงเรียน

ฐานการเรียนรู้ที่ 4 การติดตามภาวะโภชนาการ

ฐานการเรียนรู้ที่ 5 การพัฒนาสุขนิสัยนักเรียน

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 การพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

ฐานการเรียนรู้ที่ 7 การจัดบริการสุขภาพนักเรียน ห้องพยาบาล ยารับประทาน

ฐานการเรียนรู้ที่ 8 : การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ

ตัวอย่างการบูรณาการสู่กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาษา ต่างประเทศ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สุขศึกษา และพลศึกษา ศิลปะ ตัวอย่างการบูรณาการสู่กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ

ชี้แจงการแบ่งกลุ่ม Workshop : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 ห้อง รูปแบบการเรียนรู้ : ไม่หมุนฐานใหญ่ แต่หมุนฐานเรียนรู้ ภายในห้องย่อย โดยแบ่งการ Workshop เป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 : กิจกรรมนำเข้าสู่หลักสูตรการเรียนรู้ และเสริมพลัง (15 นาที) โดย วิทยากรกระบวนการ ช่วงที่ 2 : กิจกรรมการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ (2 ชั่วโมง 15 นาที) โดย วิทยากรเจ้าของชุดความรู้ ช่วงที่ 3 : สรุปบทเรียน/แลกเปลี่ยนประสบการณ์ (30 นาที) โดย วิทยากรกระบวนการ

วิทยากร : ห้องที่ 1 : ด้านเกษตรและสหกรณ์ (ห้อง Evergreen) ผู้เข้าอบรม : จำนวน 80 คนประกอบด้วย ศูนย์อนามัยที่ 1-12 ศูนย์ละ 1 คน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาฯ 71 จังหวัดๆ ละ 1 คน กทม. 2 คน และส่วนกลาง วิทยากร : น.ส.ปรางค์ทอง ดวงโนแสน นักวิชาการอิสระ ผอ.ถนอมพรรณ สืบจากดี กรมส่งเสริมการเกษตร รศ.จุฑาทิพย์ ภัทรวาท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นางสาวกัญจนา ภัทรวนาคุปต์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 5. ผอ.สหนณ ชัยจรินนันท์ ศูนย์การถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ6. ผอ.กฤษณะ มาเทียบ ศูนย์การถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ ผอ.กาญจนา จิตเพิ่มสุข กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

พี่เลี้ยงประจำฐาน : นางพะนอ อี้รักษา สพฐ. 2. น.ส.พันธ์ทิพย์ จารุเสน กรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. น.ส.อัจฉราภรณ์ ตั้งอุทัยสุข สพฐ. ที่ปรึกษาประจำห้อง : 1. นายเอกโอสถ รักเอียด กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 2. นายไพโรจน์ กระโจมทอง สำนักการศึกษา กทม. วิทยากรกระบวนการ : 1. นายยุทธนา ทับแก้ว นักวิชาการอิสระ 2. น.ส.วรลักษณ์ คงหนู สำนักโภชนาการ

ห้องที่ 2 : ด้านอาหารและโภชนาการ (ห้อง Areeya) ผู้เข้าอบรม : จำนวน 100 คนประกอบด้วย ศูนย์อนามัยที่ 1-12 ศูนย์ละ 1 คน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 71 จังหวัดๆ ละ 1 คน กทม. 2 คน และส่วนกลาง (ผู้เข้าอบรมห้องนี้จะต้องฝึกปฏิบัติ Thai School Lunch Programในวันที่ 6 ม.ค.๕๘) วิทยากร : ผศ.ดร.อุไรพร จิตต์แจ้ง สถาบันโภชนาการ นางวสุนธรี เสรีสุชาติ สำนักโภชนาการ น.ส.ชนัญณิศา เลิศสุโภชวณิชย์ สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ

พี่เลี้ยงประจำฐาน : นางกุลพร สุขุมาลตระกูล สำนักโภชนาการ 2. น.ส.พรวิภา ดาวดวง สำนักโภชนาการ น.ส.วิไลลักษณ์ ศรีสุระ สำนักโภชนาการ น.ส.ใจรัก ลอยสงเคราะห์ สำนักโภชนาการ ที่ปรึกษาประจำห้อง : 1. ดร.พญ.สายพิณ โชติวิเชียร สำนักโภชนาการ 2. นางนันทยา จงใจเทศ สำนักโภชนาการ วิทยากรกระบวนการ : นายโกศล บุญยวง นักวิชาการอิสระ

วิทยากร : ห้องที่ 3 : การจัดบริการสุขภาพและงานอนามัย สิ่งแวดล้อม (ห้อง คัทลียา) ผู้เข้าอบรม : จำนวน 80 คนประกอบด้วย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและหรือ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จังหวัดๆ ละ 1 คน กทม. ๒ คน และส่วนกลาง วิทยากร : นางปนัดดา จั่นผ่อง สำนักส่งเสริมสุขภาพ นางสุวพร ทวีสิทธิ์ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ ทพญ.จิราพร ขีดดี สำนักทันตสาธารณสุข นายวิโรจน์ วัชระเกียรติศักดิ์ สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ น.ส.ปรียนิตย์ ใหม่เจริญศรี สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

พี่เลี้ยงประจำฐาน : นางสาวนันทจิต บุญมงคล สำนักโภชนาการ นางสาวสิรี สุวรรณศิลป์ สำนักโภชนาการ ที่ปรึกษาประจำห้อง : ทพญ.ปิยะดา ประเสริฐสม สำนักทันตสาธารณสุข วิทยากรกระบวนการ : ทีมงานบริษัทเวิล์ดดีโปรดักชั่น จำกัด