หัวพ่นน้ำยางคอมปาวด์สำหรับ สร้างสระกักเก็บน้ำเพื่อการเกษตร หัวพ่นน้ำยางคอมปาวด์สำหรับ สร้างสระกักเก็บน้ำเพื่อการเกษตร
ผู้ร่วมโครงการ นายสมคิด ศรีสุวรรณ นายอภิชาต ตันโลหะกุล นายสมคิด ศรีสุวรรณ นายอภิชาต ตันโลหะกุล นายวิชพล คุ่ยคุ้ย นายบุญฤทธิ์ คงเจริญ ที่ปรึกษา รศ.อาซีซัน แกสมาน
วัตถุประสงค์ ผลิตชุดพ่นน้ำยางเพื่อสร้างอ่างเก็บน้ำ
แก้ปัญหา ศึกษาวิธีการผลิตชุดพ่นน้ำยางแบบใหม่ วัตถุประสงค์ (ต่อ) ปัญหาของชุดพ่นแบบถังความดัน - มีน้ำหนักมาก เคลื่อนย้ายลำบาก - มีอัตราเสี่ยงต่อการระเบิดของถังความดัน - ไม่สามารถพ่นน้ำยางต่อเนื่องได้ - ต้นทุนสูง แก้ปัญหา ศึกษาวิธีการผลิตชุดพ่นน้ำยางแบบใหม่
แผนการดำเนินงาน Plan Do Action Check
Plan ประชุมวางแผนการสร้างสระน้ำที่ภาคตะวันออก วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดกับการสร้างสระน้ำ วางแผนการแก้ปัญหา หาแหล่งทุนจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
ศึกษาทฤษฎีกลศาสตร์ของไหล DO ศึกษาทฤษฎีกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล : Q = AV โดย Q คือ อัตราการไหล A คือ ของท่อ V คือ ความเร็วเฉลี่ย
DO (ต่อ) ออกแบบหัวพ่นแบบสุญญากาศ เมื่อ Q = A1V1 = A2V2
DO (ต่อ) ผลิตหัวพ่นตามแบบ
ทำการพ่นและทดสอบหัวพ่นแบบสุญญากาศ เช่น Check ทำการพ่นและทดสอบหัวพ่นแบบสุญญากาศ เช่น ปรับระยะเข็มลม ปรับความดัน ปรับขนาดท่อส่งลม เช็คอัตราการไหล ชุดหัวพ่นแบบสุญญากาศ
การพ่นสระน้ำโดยใช้หัวพ่นแบบสุญญากาศ Action การพ่นสระน้ำโดยใช้หัวพ่นแบบสุญญากาศ
ข้อดีหัวพ่นแบบสุญญากาศ มีน้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายสะดวก มีความปลอดภัยในการใช้งาน สามารถพ่นน้ำยางได้อย่างต่อเนื่อง ต้นทุนต่ำ
ขอบคุณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)