คนนอกกรอบ ในปี 2008 นักเขียนที่มีชื่อเสียง Malcolm Gladwell เขียนหนังสือที่ ดังทั่วโลก ชื่อคนนอกกรอบ (Outliers)
จากการศึกษาพบว่าคนที่ประสพ ผลสำเร็จนั้นปัจจัยเหล่านี้ ไม่เกี่ยว 1. พันธุกรรม ลูกชาวนาในจีนเก่ง คณิตศาสตร์ 2. สติปัญญา คนฉลาดกว่าไอน์สไตน์ มากมายแต่ชีวิตล้มเหลว 3. การศึกษา คนเรียนเก่งแต่ยากจนและมี หนี้สินมากมาย
Anderse Ericson นักจิตวิทยาค้นพบว่า นักไวโอลินระดับครูสอนจะซ้อมปีละ 4,000 ชั่วโมง นักไวโอลินที่เด่นโชว์จะซ้อมปีละ 8,000 ชั่วโมง นักไวโอลินอาชีพจะซ้อมปีละ 10,000 ชั่วโมง ดังนั้น พรสวรรค์ไม่มีผลต่อความสามารถแต่ ความมานะต่างหากที่มีผล
Albert Eistien 1. Imagination is more important than knowledge 2. Insanity: Doing the same thing over and over again and expecting different results 3. We can’t solve problems by using the same kind of thinking we used when we created them 4. Two things are infinite: the universe and human stupidity, and I’m not sure about the universe
Malcolm Gladwell พบว่าความสำเร็จขึ้นอยู่กับ 1. จังหวะ ( โอกาส ) อดีตผู้นำของไทย 2. มานะ ( ไม่ยอมแพ้ ) ร้านโชวห่วย กรณีของบิล เกตส์ ที่ประสพผลสำเร็จคือ ก. การเกิด Computer 1970s ตอนนั้นอายุราว 17 ปี ข. ทำงานวันละสิบกว่าชั่วโมง
เมื่อวันหนึ่งคุณขึ้นมาเป็นหัวหน้า วันนั้นคือ โอกาสมาแล้วยังเหลือเพียง มานะ Never Give Up
ในช่วงปลายศตวรรษ 2000 Dr. McCleland ค้นพบเรื่องระบบสมรรถนะว่าพนักงานที่จะ ประสพผลสำเร็จขึ้นอยู่กับสมรรถนะ (Competency) อันประกอบด้วย 1. ความรู้ 2. ทักษะ 3. อุปนิสัย
ในทั้งสามส่วนนั้น เรื่องอุปนิสัยเป็นเรื่องสำคัญที่สุด และฝึกยากที่สุด
บทบาทของหัวหน้า 1. ความรับผิดชอบต่อผู้บังคับบัญชาของตน 1.1 ความมีสติปัญญา Don’t come with problems, come with solutions อย่ามาพร้อมปัญหา แต่เอาทางออกมา ด้วย ( ชุมพล ณ ลำเลียง กรรมการผู้จัดการ ปูนซีเมนต์ )
What Got you here, won’t get you there อะไรที่ทำให้คุณยืนอยู่ที่นี่ได้ไม่ช่วยให้ยืนอยู่ที่ นั่นได้ Take a management skill course or read a book ไปอบรมหลักสูตรการบริหารหรือหาหนังสือ อ่าน
1.2 ความรับผิดชอบ Hold regular team meetings to keep up-to- date on the project and provide supports จัดให้มีการประชุมลูกทีมสม่ำเสมอเพื่อทราบ ความเป็นไปของโครงการและให้การสนับสนุน When you are the one who has made a mistake, admit it and take responsibility for it ถ้าเราทำผิด ยอมรับและแสดงความรับผิดชอบ
If you have a high employee turnover, find out why ask questions, and be willing to hear the truth ถ้าลูกน้องลาออกบ่อย ให้หาสาเหตุและยอมรับ ความจริง
2. ความรับผิดชอบต่อลูกน้อง 2.1 เข้าใจลูกน้อง If someone comes to you with a complaint, take it seriously and give it fair and proper investigation ถ้าลูกน้องมาร้องทุกข์ ขอให้ถือว่าเป็นเรื่อง จริงจังและสอบสวนอย่างยุติธรรมและถูกต้อง
If you want their cooperation, respect their feelings ถ้าอยากให้เขาร่วมมือ ยอมรับความรู้สึกเขาด้วย Be a colleague rather than a boss, refer to your “associate” rather than your “subordinate” ให้เกียรติเขาในฐานะเพื่อนร่วมงานมากกว่า ลูกน้อง
2.2 ส่งเสริมลูกน้อง If an employee has made an error, instead of chewing them out, just state what they did wrong If you know how to correct it, tell them. If not, work out a solution together ถ้าลูกน้องทำผิด อย่าเอาแต่ดุด่า ช่วยอธิบายว่า ผิดอย่างไร ถ้าช่วยปรับปรุงได้ยิ่งดี แต่ถ้าช่วยไม่ได้ขอให้ ร่วมแก้ปัญหากับเขา
If you have informed an employee that an aspect of their work is not acceptable and they correct it, let them know that they are on the right track ถ้าบอกลูกน้องแล้วว่างานไหนยังใช้ไม่ได้ ถ้า เขาแก้ไขในทางที่ถูกแล้ว ขอให้บอกเขาด้วยว่า เขาเดินถูกทางแล้ว อย่าเอาแต่เงียบ
Give lots of encouragement, you will be amazed at the effect ให้กำลังใจ แล้วคุณจะประหลาดใจในผลลัพธ์ Don’t ask an employee to do personal work. They have their own family อย่าใช้ลูกน้องทำงานในเรื่องส่วนตัวของคุณ เขาก็มีครอบครัวของเขา
3. ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน Ask for help when you need it. Pride only forms a barrier between you and your associates. A little show of humanity and humility will engender a closer working relationship ถ้าต้องการความช่วยเหลือ จงกล้าที่จะขอ การที่ มีท่ามาก ( เอ็น ) จะสร้างเครื่องกีดขวางระหว่าง เรา การแสดงความอ่อนโยนและถ่อมตัวจะช่วย เกิดความใกล้ชิดในการทำงาน
Treat your associates as if they were successful in their jobs. See the best in them, even when they do not see it themselves ปฏิบัติกับเพื่อนร่วมงานเสมือนว่าเขาประสพ ความสำเร็จในงานนั้น หาข้อดีในตัวเขาแม้ว่าเขา เองยังไม่เห็นในความดีนั้น
การที่เราด่าลูกน้องในยามโมโห แม้ด่าเสร็จเราอาจจะลืม แต่สำหรับลูกน้องนั้นเขาจะจำ ตลอดชีวิต ( นายเทียม โชควัฒนา )