เริ่มต้น Photoshop CS5.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทเรียนเรื่องการตกแต่งภาพโดย Photoshop
Advertisements

FONT FLOWERS การสร้างตัวอักษร ด้วยดอกไม้.
ส่วนประกอบของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8
ปฏิบัติการที่ 4 การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
การใช้งานเมนูคำสั่งของ Microsoft Excel 2003
หน่วยการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์
Microsoft Office PowerPoint 2003
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
การทำภาพ animation โดยใช้
เลือกภาพที่จะทำการตัด
การแทรกหัวข้อย่อยและเลขลำดับ
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : โปสการ์ด/กรอบรูป
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
By…Porta Boonyatearana
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
เทคนิคการใช้งาน Adobe Photoshop นรินทร บุญพราหมณ์
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
โปรแกรม Microsoft Access
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
เริ่มต้น Photoshop CS5.
Selection แผนที่ 2 หน่วยที่ 4.
การสร้าง Digital Video ด้วย Window Movie Maker
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
โปรแกรม DeskTopAuthor
แบบทดสอบ Photoshop.
Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บข้อมูลประเภทการคำนวณ.
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
การสร้างหน้าโฮมเพจด้วยโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX 2004
CHAPTER 6 Macromedia Dreamweaver MX 8.
การปรับแต่งกราฟฟิกภาพ,สี,Effect ด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop CS
การรับรองรายงานการประชุม ผ่านเว็บไซต์จังหวัดลพบุรี
จุดประสงค์การเรียนรู้
การแต่งรูปภาพด้วยโปรแกรม
Principle of Graphic Design
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
วาดรูปด้วย Paint ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
Sukunya munjit..detudom.  เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผล กลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือ สูงกว่า  ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูง กว่า.
พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Flash CS3
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๒ การเรียงภาพหลายภาพเป็นภาพ เดียวกัน ๑. เข้าใช้งานชุดคำสั่ง ADOBE PHOTOSHOP รุ่น ๕. ๕.
กิจกรรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS3.
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
นางสาวขวัญชนก ขจรภพ รหัสนิสิต กลุ่ม B06 คณะพยาบาลศาสตร์
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
Adobe Photoshop เทคนิคพิเศษ และฟิลเตอร์
และการทำงานกับตัวอักษร
Graphic Design 03.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : การม้วน ขอบภาพ / รุ้ง ใบความรู้ โดย..... ครูนิ่มอนงค์ เดชภูงา โรงเรียนศรีปทุมพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33.
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
การสร้างตารางคำนวณด้วย
เริ่มใช้งาน Microsoft Office
โรงเรียนขัติยะวงษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เริ่มต้น Photoshop CS5

หลักการทำงานของ Photoshop คือ การสร้างภาพโดยเริ่มต้นจากหน้ากระดาษเปล่าๆเหมือนกับจิตรกรที่เขียนภาพลงบนผืนผ้าใบ การหยิบภาพถ่ายขึ้นมาปรับปรุงให้ดูดีขึ้น สมบูรณ์ หรือแหวกแนวในรูปแบบที่ต้องการ ซึ่งขั้นตอนทั้งหมดจะทำงานอยู่บนหน้าจอของเครื่องคอมพิวเตอร์

หน้าจอโปรแกรม ประกอบด้วยส่วนสำคัญดังนี้ 1. แถบเมนูคำสั่ง (Menu Bar) 2. แถบกำหนดรูปแบบของเครื่องมือใช้งาน (Tool Option Bar) 4. กล่องเครื่องมือ (ToolBox) 5.พื้นที่การทำงาน (Document Window) 6. พาเนล (Panel) รวบรวมคุณสมบัติต่างๆ 3. แท็บชื่อไฟล์

แถบเมนูคำสั่ง (Menu Bar) File ทำงานเกี่ยวกับไฟล์ เช่น การเปิด การปิด การบันทึก Edit ปรับแต่งภาพในรูปแบบต่างๆ เช่นการย้อนกลับ การเติมสี Image การปรับแต่งที่มีผลต่อภาพ เช่น ปรับขนาดภาพ ปรับโหมดสี หมุนภาพLayer ปรับแต่งภาพในแต่ละเลเยอร์และสร้างความสัมพันธ์ในแต่ละเลเยอร์ Select จัดการกับพื้นที่ภาพที่เลือกไว้ ใช้ร่วมกับกล่องเครื่องมือ (Toolbox) Filter ปรับแต่งภาพอัตโนมัติด้วยคำสั่งสำเร็จรูป เช่น การสร้างภาพสีน้ำ 3d ตกแต่งภาพ 3d View กำหนดมุมมองการแสดงภาพในรูปแบบต่างๆเช่น การซูมภาพใกล้ Window จัดการหน้าต่างแต่ละหน้าต่างที่ปรากฎบนจอของโปรแกรม Help รวบรวมวิธีการใช้งานและคำแนะนำเกี่ยวกับโปรแกรม

แถบกำหนดรูปแบบของเครื่องมือ (Option Bar) แถบที่ใช้กำหนดค่าการทำงานของเครื่องมือในกล่องเครื่องมือ (Toolbox)ที่เราใช้งานอยู่

พาเนล (Panel) เป็นหน้าต่างย่อยที่รวบรวมคุณสมบัติการทำงานของเครื่องมือต่างๆ ให้เราเลือกใช้ การเปิด/ปิด Panel เลือกได้จากแท็บคำสั่ง Window ถ้า Panal ไหนถูกเปิดอยู่จะมีเครื่องหมายถูกหน้า Panel นั้น

กล่องเครื่องมือ (Toolbox) เป็นส่วนที่รวบรวมเครื่องมือที่จะใช้ในการสร้าง ปรับแต่งและแก้ไขภาพ

การสร้างชิ้นงาน การสร้างไฟล์ใหม่ (New) คลิกที่เมนูคำสั่ง File ที่แถบ Menu bar จากนั้นเลือกคำสั่ง New

Name คือ ชื่อของชิ้นงาน สามารถกำหนดใหม่เองได้ ชื่อนี้จะไประบุที่ชื่อไฟล์ต่อไป Preset คือ ขนาดงานที่โปรแกรมกำหนดมาให้ ซึ่งมีหลากหลายขนาดให้เลือก หรือสามารถกำหนดเองจากช่อง Width และ Height ได้ Width คือ ขนาดความกว้างของงาน (จากซ้ายไปขวา) โดยกำหนดหน่วยและขนาดได้เอง จากรูป คือ 1024 Pixels Height คือ ขนาดความกว้างของงาน (จากบนลงล่าง) โดยกำหนดหน่วยและขนาดได้เอง จากรูป คือ 768 Pixels Resolution คือ ความละเอียดของภาพ โดยใส่ตัวเลขค่าความละเอียดของภาพ เช่น งานเว็บหรือรูปที่แสดงบนคอมพิวเตอร์เท่ากับ 72 pixels/inch งานสิ่งพิมพ์เท่ากับ 150-200 pixels/inch Color Mode คือ โหมดสีของภาพ ซึ่งประกอบไปด้วย โหมดสี Bitmap, Grayscale, RGB Color, CMYK Color, Lab Color

1. ใช้วิธีการเทสี 2. ใช้รูปภาพเป็นพื้นหลัง การสร้างพื้นหลังให้กับชิ้นงาน 1. ใช้วิธีการเทสี 2. ใช้รูปภาพเป็นพื้นหลัง

1. วิธีการเทสี

2. ใช้รูปภาพเป็นพื้นหลัง 1. สร้างชิ้นงานเปล่าตามขนาดที่ต้องการ 2. เปิดรูปภาพที่ต้องการนำมาเป็นพื้นหลัง menu bar > file > open 3. เลือกพื้นที่ภาพพื้นหลังที่ต้องการ หากต้องการยกเลิกการเลือกพื้นที่บริเวณเส้นประ ให้กด CTRL + D

5. ปรับให้มีขนาดเท่ากับชิ้นงานเปล่า โดย กด CTRL+T 4. ตัดภาพพื้นหลังมาวางในชิ้นงานเปล่าที่สร้างไว้โดยใช้เครื่องมือ Move Tool 5. ปรับให้มีขนาดเท่ากับชิ้นงานเปล่า โดย กด CTRL+T

การใส่ข้อความในชิ้นงาน โดยใช้เครื่องมือ Type Tools กอบด้วย การใส่ข้อความในชิ้นงาน โดยใช้เครื่องมือ Type Tools

หานักเรียนต้องการทราบว่าในชิ้นงานของตนเองมีองค์ประกอบอะไรบ้าง และแต่ละองค์ประกอบมีการจัดลำดับอย่างไร อะไรอยู่ก่อน อยู่หลังให้นักเรียนเรียก Panel Layers ขึ้นมา โดยไปที่ Menu Bar > window > Layers

จะปรากฏ Panel Layers ขึ้นมาทางขวามือ เพราะการทำงานของ Photoshop จะถูกแบ่งเป็นชั้นๆ วางซ้อนๆกันอยู่ ใน 1 ชิ้นงานอาจจะมีทั้ง ข้อความ ภาพ ที่วางทับกันอยู่มากมาย ซึ่งเราจะสามารถดูได้จาก Panel Layers

การบันทึกชิ้นงาน ไปที่ Menu Bar > File > save as หากต้องการบันทึกแบบกลับมาแก้ไขได้ให้เลือกในส่วน Format > PSD. หากไม่ต้องการแก้ไขเนื่องจากทำเสร็จสำบูรณ์แล้วให้เลือก Format > JPG.

ให้นักเรียนสร้างชิ้นงานดังต่อไปนี้ 1. สร้างชิ้นงานดังนี้

2. ใส่ภาพพื้นหลังโดยจะใส่แบบเทสีหรือแบบรูปภาพก็ได้ 3. ใส่คำกลอนที่ตนเองชอบมาคนละ 1 คำกลอง 4. ตัดภาพตนเอง 5. เขียนชื่อ นามสกุล เลขที่ ชั้น ไว้ด้านล่างซ้ายมือ บันทึกชิ้นงานไว้ที่ Desktop