เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
VISION MISSION STRATEGIC MAP. วิสัยทัศน์ (VISION) งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ เป็นศูนย์ สารสนเทศงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Hybrid.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
โครงสร้างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
นโยบายด้านบริหาร.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต

ศึกษา ค้นคว้าวิจัย พัฒนาและถ่ายทอดองค์ ความรู้เทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ที่ได้มาตรฐาน สามารถ ประยุกต์ใช้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

ยุทธศาสตร์ หลัก QEDC 1. ประชาชนจังหวัดอุดรธานี มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ด้านบริการและคุณภาพ 2. ประชาชนมีสุขภาพดีจากการ ส่งเสริมสุขภาพและควบคุมโรค

เป้าหมายการ ให้บริการ 1. การวิจัยพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี ครอบคุมปัญหาโรคติดต่อที่สำคัญของจังหวัด 2. การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการป้องกันและ ควบคุมโรคให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้องและประชาชน 3. การบริการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหา โรคติดต่อที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย

เป้าหมายการให้บริการ 4. การบริการรักษาพยาบาลโรค เฉพาะทาง มีคุณภาพมาตรฐาน 5. ทุกองค์กรทั้งภาครัฐ และเอกชน ชุมชนชนมีศักยภาพ ในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน ในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อ

1. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาและ กำหนดมาตรฐานทางวิชาการ และเทศโนโลยี ตลอดจนการพัฒนา บุคลากรด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2. ถ่ายทอดองค์ความรู้ ทางวิชาการ ด้านการป้องกันควบคุมโรค และภัยคุกคามสุขภาพในหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องและประชาชน

3. ดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคที่มีผลกระทบ เชิงเศรษฐกิจ สังคม และที่เป็นพันธ กิจสากล 4. ประสานนโยบายและแผนป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

5. ควบคุม กำกับ นิเทศ และ ประเมินผลงานด้านควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 6. สร้างและพัฒนาเครือข่ายการป้องกัน ควบคุมโรคปัญหาสุขภาพ ตลอดจนการเฝ้าระวังโรคร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องระดับ จังหวัดและประเทศ

ผลผลิตที่ 1 : การศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ และเทคโนโลยีด้านการ ป้องกันและควบคุมโรค ผลผลิตที่ 2 : การบริการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขปัญหา โรคติดต่อ ผลผลิตที่ 3 : การบริการรักษาพยาบาล เฉพาะทางมีความครอบ คลุมและมีคุณภาพ มาตรฐาน

ผลผลิตที่ 4 : การสนับสนุนและส่งเสริม การมีส่วนร่วมขององค์กร ต่างๆในการพัฒนาระบบ ป้องกันควบ คุมโรค

1. จำนวนองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่ผลิต 2. จำนวนบุคลากรและประชาชนที่ได้รับ การพัฒนา 3. จำนวนประชากรที่ได้รับบริการป้องกัน ควบคุม และสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค 4. จำนวนของผู้ป่วยที่ได้รับบริการ รักษาพยาบาล 5. จำนวนขององค์กร ชุมชน ที่สามารถ บริหารจัดการงานป้องกัน ควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อด้วย ตนเองในระดับมาตรฐาน

1. ร้อยละ 90 ของโครงการวิจัยและการ พัฒนาองค์ความรู้และ เทคโนโลยีที่ดำเนินการสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ในเวลาที่กำหนด 2. ร้อยละ 60 ของประชาชนมีความพึง พอใจในการที่ได้รับรู้ข้อมูล ข่าวสารด้านการป้องกันควบคุม โรคติดต่อ 3. ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการหลักและผู้มีส่วน ได้เสีย มีความพึงพอใจต่อการ ส่งเสริม สนับสนุนบริการ ป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหา โรคติดต่อ

4. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยและประชาชนที่มา รับบริการของโรงพยาบาล มีความพึงพอใจในประเด็นคุณภาพ 5. ร้อยละ 60 ขององค์กร ชุมชน ฯลฯ ที่ ได้รับการพัฒนาศักยภาพ สามารถบริหารจัดการงานป้องกัน ควบคุม และแก้ไขปัญหาโรค ติดต่อในท้องถิ่นด้วยตนเองในระดับ มาตรฐาน

สวัสดี EDC