การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐกิจ พอเพียง.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
จัดทำโดย น.ส. เสาวณี จันทร์แก้ว คพ50.ค5.1
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
คิดแบบพอเพียง ของคนพอเพียง.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
แนวปฏิบัติในการขอทำประโยชน์ในเขตป่า
การประชุมสัมมนา เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูลด้านแผนที่
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายด้านบริหาร.
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
ความหลากหลายทางชีวภาพ
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
แนวคิดเครือข่ายและการประยุกต์ใช้ทางธุรกิจ
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
กระบวนการการทำงานชุมชน
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การสร้างสมดุลของอาหารและพลังงาน
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูพัทธนันท์
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ การจัดการอย่างมีส่วนร่วมเพื่อความยั่งยืนทางทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศและวิถีชีวิต การจัดการ แบบมีส่วนร่วม ความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศ - ระดับนโยบาย - ระดับลุ่มน้ำ - ระดับชุมชน โรงเรียน กระบวนการ มีส่วนร่วม ฐานทรัพยากรธรรมชาติ - ป่า - ดินและที่ดิน - น้ำ องค์กรภาครัฐ วัด ระบบสิทธิ การเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ กลไกการจัดการ กลไกการจัดการ การขับเคลื่อน องค์กร พัฒนาเอกชน กายภาพและชีวภาพ ระบบนิเวศ ผลกระทบต่อระบบนิเวศ การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน กลุ่ม/ องค์กร /เครือข่ายภาคประชาชน หน่วยงานรัฐท้องถิ่น - นิเวศของระบบลุ่มน้ำ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - มลภาวะทางสิ่งแวดล้อม - การผลิต/เศรษฐกิจพอเพียง - ความรู้สากล/ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ - ภูมิปัญญา ความพอเพียงในการดำรงชีพ - ทางการบริโภค - ทางวัฒนธรรม

สถานการณ์ปัญหา ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน ป่าไม้และน้ำ ระบบนิเวศน์ลุ่มน้ำขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ เปลี่ยนแปลงทั้งสภาพกายภาพ (ความแห้งแล้ง ดินถล่ม น้ำท่วม/ น้ำแล้ง) และทางชีวภาพ (การสูญเสียพื้นที่ป่า สัตว์ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์) ความขัดแย้งจากการแย่งชิงทรัพยากรและจากผลกระทบจากระบบนิเวศน์มากขึ้น ซับซ้อนขึ้น หลากหลายในระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่าย) ระบบการผลิต การบริโภคของผู้คนเปลี่ยนเป็นการพึ่งพาตลาดและทุนที่ผู้ผลิต/ ผู้บริโภค เสียเปรียบมากขึ้น ความสัมพันธ์ของครอบครัว ชุมชน สถาบันต่างๆ เปลี่ยนแปลงจนทำให้วิถีชีวิตมีความลำบากมากขึ้น ทั้งหมดเกิดขึ้นด้วยสาเหตุเชิงซ้อนในระบบนิเวศน์ธรรมชาติและนิเวศน์มนุษย์ซึ่งกันและกัน

ความพยายามในการแก้ไขปัญหา: ทำได้น้อยดูเสมือนยิ่งแก้ยิ่งเพิ่มปัญหา เพราะ อิทธิพลของกระแสโลกาภิวัฒน์ การพัฒนาเศรษฐกิจและความทันสมัยที่ทำให้ประเทศ/ สังคม/ ผู้คน ที่ได้เปรียบ ดำรงความได้เปรียบบนการสูญเสียของผู้เสียเปรียบและของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบเศรษฐกิจ การเมือง การบริหารจัดการ เป็นแบบรวมศูนย์อยู่ภายใต้รัฐ มีการแยกส่วนใช้การจัดการแบบมิติเดียว ภาคประชาชน, องค์กรเอกชน, ชุมชน และสถาบันทางสังคมมีการแตกตัวมากขึ้นและมีความขัดแย้งกับรัฐมากขึ้น ขาดความรู้ที่แท้จริง (ความรู้ที่มีเป็นแบบแยกส่วน ทั้งในแง่ของคำอธิบายสภาพปัญหา ผู้อธิบายและในแง่ของวิธีการแก้ไขและจัดการ)

แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน ต้องแก้ปัญหาเรื่องที่ทำกินก่อน ต้องหาระบบการผลิตที่ ได้อาหาร + พอได้เงินบ้าง +ไม่กระทบนิเวศ โดยคำนึงถึงศักยภาพและข้อจำกัดของ ฐานทรัพยากร/นิเวศและตลาด ถ้าระบบผลิตมีข้อจำกัด ต้องหาอาชีพทางเลือกที่ไม่กระทบนิเวศ ต้องปรับเปลี่ยนระบบการบริโภคที่ลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย เป็นภัยต่อสุขภาพ ต้องรื้อฟื้นระบบการบริหารจัดการ ของชุมชน อบต. และหน่วยงาน ยึดแนว เศรษฐกิจพอเพียงอย่างจริงจัง