การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ การจัดการอย่างมีส่วนร่วมเพื่อความยั่งยืนทางทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศและวิถีชีวิต การจัดการ แบบมีส่วนร่วม ความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศ - ระดับนโยบาย - ระดับลุ่มน้ำ - ระดับชุมชน โรงเรียน กระบวนการ มีส่วนร่วม ฐานทรัพยากรธรรมชาติ - ป่า - ดินและที่ดิน - น้ำ องค์กรภาครัฐ วัด ระบบสิทธิ การเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ กลไกการจัดการ กลไกการจัดการ การขับเคลื่อน องค์กร พัฒนาเอกชน กายภาพและชีวภาพ ระบบนิเวศ ผลกระทบต่อระบบนิเวศ การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน กลุ่ม/ องค์กร /เครือข่ายภาคประชาชน หน่วยงานรัฐท้องถิ่น - นิเวศของระบบลุ่มน้ำ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - มลภาวะทางสิ่งแวดล้อม - การผลิต/เศรษฐกิจพอเพียง - ความรู้สากล/ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ - ภูมิปัญญา ความพอเพียงในการดำรงชีพ - ทางการบริโภค - ทางวัฒนธรรม
สถานการณ์ปัญหา ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน ป่าไม้และน้ำ ระบบนิเวศน์ลุ่มน้ำขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ เปลี่ยนแปลงทั้งสภาพกายภาพ (ความแห้งแล้ง ดินถล่ม น้ำท่วม/ น้ำแล้ง) และทางชีวภาพ (การสูญเสียพื้นที่ป่า สัตว์ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์) ความขัดแย้งจากการแย่งชิงทรัพยากรและจากผลกระทบจากระบบนิเวศน์มากขึ้น ซับซ้อนขึ้น หลากหลายในระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่าย) ระบบการผลิต การบริโภคของผู้คนเปลี่ยนเป็นการพึ่งพาตลาดและทุนที่ผู้ผลิต/ ผู้บริโภค เสียเปรียบมากขึ้น ความสัมพันธ์ของครอบครัว ชุมชน สถาบันต่างๆ เปลี่ยนแปลงจนทำให้วิถีชีวิตมีความลำบากมากขึ้น ทั้งหมดเกิดขึ้นด้วยสาเหตุเชิงซ้อนในระบบนิเวศน์ธรรมชาติและนิเวศน์มนุษย์ซึ่งกันและกัน
ความพยายามในการแก้ไขปัญหา: ทำได้น้อยดูเสมือนยิ่งแก้ยิ่งเพิ่มปัญหา เพราะ อิทธิพลของกระแสโลกาภิวัฒน์ การพัฒนาเศรษฐกิจและความทันสมัยที่ทำให้ประเทศ/ สังคม/ ผู้คน ที่ได้เปรียบ ดำรงความได้เปรียบบนการสูญเสียของผู้เสียเปรียบและของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบเศรษฐกิจ การเมือง การบริหารจัดการ เป็นแบบรวมศูนย์อยู่ภายใต้รัฐ มีการแยกส่วนใช้การจัดการแบบมิติเดียว ภาคประชาชน, องค์กรเอกชน, ชุมชน และสถาบันทางสังคมมีการแตกตัวมากขึ้นและมีความขัดแย้งกับรัฐมากขึ้น ขาดความรู้ที่แท้จริง (ความรู้ที่มีเป็นแบบแยกส่วน ทั้งในแง่ของคำอธิบายสภาพปัญหา ผู้อธิบายและในแง่ของวิธีการแก้ไขและจัดการ)
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน ต้องแก้ปัญหาเรื่องที่ทำกินก่อน ต้องหาระบบการผลิตที่ ได้อาหาร + พอได้เงินบ้าง +ไม่กระทบนิเวศ โดยคำนึงถึงศักยภาพและข้อจำกัดของ ฐานทรัพยากร/นิเวศและตลาด ถ้าระบบผลิตมีข้อจำกัด ต้องหาอาชีพทางเลือกที่ไม่กระทบนิเวศ ต้องปรับเปลี่ยนระบบการบริโภคที่ลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย เป็นภัยต่อสุขภาพ ต้องรื้อฟื้นระบบการบริหารจัดการ ของชุมชน อบต. และหน่วยงาน ยึดแนว เศรษฐกิจพอเพียงอย่างจริงจัง