แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
โครงการพัฒนาระบบบริการ สุขภาพจิตและจิตเวช โครงการ พัฒนา กฎหมาย สุขภาพจิต โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือ จิตเวชสู่เครือข่ายนอกระบบ สาธารณสุข โครงการพัฒนาองค์กร ชุมชนในการส่งเสริม ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ชุมชน โครงการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสุขภาพจิตของ ประชาชนในภาวะวิกฤติ ใน ระบบ สาธาร ณสุข นอก ระบบ สาธาร ณสุข พื้นที่นำร่องการพัฒนาแบบบูรณาการ 1 ชุมชน / จังหวัด แนวคิดการบูรณาการโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการ สุขภาพจิตและจิตเวช โครงการ พัฒนา กฎหมาย สุขภาพจิต โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือ จิตเวชสู่เครือข่ายนอกระบบ สาธารณสุข โครงการพัฒนาองค์กร ชุมชนในการส่งเสริม ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ชุมชน โครงการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสุขภาพจิตของ ประชาชนในภาวะวิกฤติ รพ. 1 แห่ง PCU 1 แห่ง อปท. 1 แห่ง พื้นที่นำร่องการพัฒนาแบบบูรณาการ 1 ชุมชน / จังหวัด พื้นที่ดำเนินการ
การบูรณาการกิจกรรม 3. มีการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ตาม ขั้นตอนของแต่ละโครงการโดยมีศูนย์ สุขภาพจิตที่ 7 รพ. พระศรีมหาโพธิ์ และ รพจ. นครพนมราชนครินทร์เป็นพี่เลี้ยง วิชาการ 1. คัดเลือกพื้นที่ดำเนินการ โดยเลือก พื้นที่ที่มีศักยภาพในการดำเนินงาน สุขภาพจิตทั้งในส่วนของสถานบริการและ อปท. 1 แห่ง / จังหวัด 2. ชี้แจงการดำเนินงาน + พัฒนาศักยภาพ บุคลากร สธ. และอปท. โดยบูรณาการ หลักสูตรและกลุ่มเป้าหมายร่วมกัน
การบูรณาการกิจกรรม 6. ถอดบทเรียนการดำเนินงานเพื่อนำไปสู่ การพัฒนารูปแบบการบูรณาการงาน สุขภาพจิตต่อไป 4. นิเทศติดตามการดำเนินงานทั้ง เครือข่าย สธ. และ อปท. ไปพร้อมกัน 5. สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การ ดำเนินงาน และประกวดผลงานในระดับ เขต ทั้งในส่วนของสถานบริการ และ อปท.
- พัฒนาศักยภาพบุคลากร อปท./ สธ. - ดำเนินกิจกรรมพัฒนาสุขภาพจิต โดยอาจเลือกใช้ แนวทางพัฒนาสุขภาพจิตชุมชนตาม องค์ประกอบ 6 ด้าน อปท. 4 แห่งในโครงการบูรณา การ งาน สุขภาพจิตหรือจิตเวชฯ + สถาน บริการในพื้นที่ พื้นที่อื่นที่ไม่ได้นำร่องแต่ยังคง ดำเนินการ
- พัฒนาศักยภาพบุคลากร สธ. - ดำเนินกิจกรรมตามขั้นตอนของ โครงการ พื้นที่อื่นที่ไม่ได้นำร่องแต่ยังคง ดำเนินการ สถานบริการที่มีการพัฒนาตาม โครงการพัฒนาระบบบริการฯ โครงการป้องกัน / แก้ไขปัญหา สุขภาพจิตฯ โครงการพัฒนากฎหมายสุขภาพจิต
สวัสดี