ระบบการติดตามและรายงาน โครงการในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว กรมการข้าว
มติคณะรัฐมนตรี (24 พ.ย. 52) หน่วยงานเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ ให้ได้เต็มร้อยละ 100 หน่วยงานเร่งลงนามสัญญาภายในไตรมาส 1 ให้หัวหน้าส่วนราชการเร่งรัดการใช้จ่ายเงิน ให้เป็นไปตามเป้าหมายโดยเคร่งครัด
หัวข้อการนำเสนอ - วัตถุประสงค์ - ขอบเขต / ระบบการติดตามและรายงาน - วัตถุประสงค์ - ขอบเขต / ระบบการติดตามและรายงาน - แบบรายงาน
วัตถุประสงค์ 1. ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ 2. ทราบปัญหา อุปสรรคการดำเนินงาน 3. ทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการเสนอต่อผู้บริหารและหน่วยงานกลาง
ขอบเขตการติดตามและรายงาน การรายงานด้านผลการดำเนินงาน การรายงานด้านผลการเบิกจ่ายงบประมาณ 1. โครงการฟื้นฟูนาร้างเพื่อปลูกข้าว (งบปกติ) 2. โครงการพัฒนาการผลิตข้าวในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจ 5 จชต. (งบ SP 2)
ระบบการติดตามและรายงาน 1. การรายงานข้อมูลผ่านระบบ PFMS 2. การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ตามระบบ GFMIS 3. การรายงานผลการดำเนินงาน 4. คณะทำงานติดตามเร่งรัดฯ
การรายงานข้อมูลโครงการในระบบ PFMS-SP2 ผ่าน Internet ร่วมกับ Token Key ที่ www: pfms.gfmis.go.th
ระบบ PFMS – SP2
ขนาดโครงการตามมูลค่าโครงการและการบันทึกข้อมูล (ล้านบาท) รูปแบบการนำเข้าข้อมูล การแสดงผล เงิน งาน L ตั้งแต่ 200 ล้านบาทขึ้นไป WEB - Form E-Form Web TKK2555.COM E – Book Google Map M 30 – 200 ล้านบาท S 5 – 30 ล้านบาท ส่งรูปถ่ายป้ายดำเนินโครงการ (ผ่าน PFMS Web Portal) SS ต่ำกว่า 5 ล้านบาท -
โครงการขนาด size s ส่งรูปถ่ายป้ายดำเนินโครงการ
ส่งรูปถ่ายป้ายดำเนินโครงการ (รูปถ่ายที่มีพิกัด GPS) โครงการ Size S ส่งรูปถ่ายป้ายดำเนินโครงการ สนย หน่วยงาน ส่งรูปถ่ายป้ายสถานที่ ดำเนินโครงการที่มีพิกัด geo tag (รูปถ่ายที่มีพิกัด GPS) Upload ผ่านทาง PFMS WEB Portal เพื่อแสดงสถานที่ดำเนินโครงการในแผนที่ Google MAP
การแสดงสถานที่ดำเนินโครงการพร้อมรายละเอียด โครงการใน Google Map สำหรับโครงการ L, M, S
การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ รายงานตามระบบ GFMIS สำนักบริหารกลาง โดยให้ตัดยอดการรายงาน ทุกสิ้นเดือน WEB-Form / PFMS
การรายงานผลการปฏิบัติงาน รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ แบบรายงาน สงป. 301 E-mail : meg_1@ricethailand.go.th โทรสาร 02-940-6096
ระบบติดตามและรายงานผลตามแผนปฏิบัติการงานโครงการ โครงการ/กิจกรรม การรายงาน หน่วยงานรายงาน ความถี่ หน่วยงานรวบรวม กำหนดส่งรายงาน 1.ฟื้นฟูพื้นที่นาร้าง แบบ สงป. 301 ระบบ GFMIS สนย. สสข. ศวข. ศมข. รายเดือน ภายใน วันที่ 5 2.พัฒนาการผลิตข้าวในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจ 5 จชต.
ฟื้นฟูนาร้างเพื่อปลูกข้าว โครงการ/กิจกรรม หน่วย นับ รวม แผน (เม.ย. – มิ.ย.) ผล แผน (ก.ค. – ก.ย.) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. แผน ฟื้นฟูนาร้างเพื่อปลูกข้าว 1. สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ดี ตัน 2. การสนับสนุนปุ๋ยเคมี 3. อบรมเกษตรกร ราย 4. การจัดงานวันรณรงค์ ครั้ง 5. การติดตามนิเทศงาน 6. การเบิกจ่ายงบประมาณ บาท
พัฒนาการผลิตข้าวในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 5 จชต. โครงการ/กิจกรรม หน่วย นับ รวม แผน (เม.ย. – มิ.ย.) ผล แผน (ก.ค. – ก.ย.) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. แผน พัฒนาการผลิตข้าวในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 5 จชต. 1. ศูนย์ข้าวชุมชน ศูนย์ 2. ผลิตข้าวปลอดสารพิษ และข้าวอินทรีย์ ไร่ 3. อบรมเกษตรกร ราย 4. การติดตามนิเทศงาน ครั้ง 5. การเบิกจ่ายงบประมาณ บาท
สำเนารายงานผลการดำเนินโครงการฯ ตามแบบรายงานที่ได้รายงาน ต่อ กษ.จ. ต่อ กษ.จ. ให้ สนย. ทราบด้วย ทุกเดือน
คณะทำงานติดตามเร่งรัด การดำเนินโครงการในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 1. กำกับ เร่งรัดการดำเนินโครงการ 2. ให้คำแนะนำแก่หน่วยงานที่ดำเนินโครงการฯ
คณะทำงานติดตามเร่งรัด ฯ ประกอบด้วย 1. รองอธิบดีกรมการข้าว (นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ) ประธานคณะทำงาน ฯ 2. ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว 3. ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการผลิตข้าว 4. นางสาวนุชญา ณ สงขลา 5. นางกิ่งแก้ว คุณเขต 6. นางรานี วิทโยภาส 7. นายบรรเจิด ธีรรัศมี 8. นางสาวจาฎุพัจน์ รอดอริห์ 9. หัวหน้ากลุ่มติดตามและประเมินผล คณะทำงานและเลขานุการ
การจัดทำรายงานเสนอผู้บริหาร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความถี่ กำหนดการส่ง 1.รายงานผู้บริหาร รายเดือน ภายในวันที่ 5 2.รายงานกระทรวงการคลัง รายไตรมาส ภายในวันที่ 15 3.รายงานกระทรวงเกษตรฯ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ข้อมูลผลการดำเนินงาน เพื่อประกอบการทำรายงานเสนอผู้บริหารและหน่วยงานกลางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีสารสนเทศประกอบการปรับปรุงแผนปฏิบัติการ ในระยะที่เหมาะสมต่อไป 3. การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย และแล้วเสร็จ ในระยะเวลาที่กำหนด
สวัสดี