แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน บรรยายสรุป การจัดทำแผนพัฒนาสามปีประกอบด้วย เนื่อหา 7 ส่วนดังนี้ แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
แผนพัฒนาสามปี มีองค์ประกอบ 6 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 บทนำการจัดทำแผนพัฒนาสามปี ส่วนที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของ อบต.ทางเกวียน ส่วนที่ 3 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในปี 2548 ส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี ส่วนที่ 5 บัญชีโครงการพัฒนา ส่วนที่ 6 การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติและการติดตาม ประเมินผล
ส่วนที่ 1 บทนำการจัดทำแผนพัฒนาสามปี 1.1 ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี 1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนพัฒนาสามปี 1.3 ขั้นตอนในการจัดทำแผนพัฒนาสามปี 1.4 ประโยชน์ของการจัดทำแผนพัฒนาสามปี
ส่วนที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน ส่วนที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน 2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้ง อาณาเขต สภาพทั่วไป 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของท้องถิ่น
ส่วนที่ 3 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในปี 2548 ส่วนที่ 3 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในปี 2548 3.1 การสรุปสถานการณ์การพัฒนา 3.2 ประเมินผลการนำแผนพัฒนาไปปฏิบัติเชิงคุณภาพ 3.3 ประเมินผลการนำแผนพัฒนาไปปฏิบัติในเชิง ปริมาณ
แผนงาน/โครงการพัฒนาท้องถิ่นในปีงบประมาณ 2548 มีแผนงาน/โครงการพัฒนาแบ่งเป็น 6 สาขา 13 แผนงานหลัก 156 โครงการ งบประมาณที่ตั้งไว้ในแผน 114,133,600.00 บาท
ผลการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาท้องถิ่นในปี 2548 มีแผนงาน/โครงการพัฒนาแบ่งเป็น 6 สาขา 13 แผนงานหลัก 69 โครงการ งบประมาณที่ดำเนินการจริง 21,963,040.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 19.24 %
ส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี ส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี 4.1 วิสัยทัศน์การพัฒนา 4.2 ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี 4.3 กรอบยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด 4.4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4.5 นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารท้องถิ่น
วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน “พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อม มีข้อมูลประชากรที่ชัดเจน พัฒนาเทคโนโลยีภายใน 10 ปี”
ยุทธศาสตร์การพัฒนาในช่วงสามปี อบต ยุทธศาสตร์การพัฒนาในช่วงสามปี อบต.ทางเกวียน กำหนดยุทศาสตร์การพัฒนา 6 ด้าน
1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 1.1 แนวทางการพัฒนา ก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษา ถนน สะพาน ทางเท้า ท่อระบายน้ำ ไฟฟ้าสาธารณะ และท่าเทียบเรือ 1.2 แนวทางการพัฒนา ก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาประปาและกำลังการ ผลิตพร้อมจัดหาอุปกรณ์ 1.3 แนวทางการพัฒนา ก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษา และการพัฒนาแหล่ง น้ำสำหรับอุปโภค - บริโภค และการเกษตร 1.4 แนวทางการพัฒนา ระบบจราจร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ 2.1 แนวทางการพัฒนา ส่งเสริมการอบรมสร้างจิตสำนึก เฝ้าระวัง ป้องกัน บำบัด ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการคลัง 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการคลัง 3.1 แนวทางการพัฒนา ส่งเสริมอาชีพเพิ่มรายได้ แก่ประชาชนและส่งเสริม การท่องเที่ยว
4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์และสังคม 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์และสังคม 4.1 แนวทางการพัฒนา ส่งเสริมการสาธารณสุขและการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 4.2 แนวทางการพัฒนาส่งเสริมการอนุรักษ์ วัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญของชาติ 4.3 แนวทางการพัฒนาส่งเสริมสวัสดิการและนันทนาการแก่ เด็ก เยาวชน และประชาชนต่อต้านยาเสพติด
5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารและการปกครอง 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารและการปกครอง 5.1 แนวทางการพัฒนา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการพัฒนาท้องถิ่นและสังคมสงเคราะห์ 5.2 แนวทางการพัฒนา ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมของท้องถิ่นและการ พัฒนาบุคลากรให้มี ประสิทธิภาพ 5.3 แนวทางการพัฒนา ส่งเสริมความพร้อมทางด้านการ ป้องกันและระงับอัคคีภัย
6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ 6.1 แนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารและพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้ให้ทันสมัย
ส่วนที่ 5 บัญชีโครงการพัฒนา ส่วนที่ 5 บัญชีโครงการพัฒนา 5.1 บัญชีสรุปโครงการพัฒนา 5.2 รายละเอียดโครงการพัฒนา
บัญชีสรุปโครงการพัฒนา แผนสามปี พ.ศ.2550 - 2552
รายละเอียดโครงการพัฒนา แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2550-2552)
แผนพัฒนาสามปีแบ่งการพัฒนาเป็น 6 ด้าน 1.ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2.ด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ 3.ด้านเศรษฐกิจและการคลัง 4.ด้านทรัพยากรมนุษย์และสังคม 5.ด้านการบริหารและการปกครอง 6.ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ
ส่วนที่ 6 การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล ส่วนที่ 6 การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล
การติดตามมี 3 ลักษณะ 2.การตรวจรับและติดตาม 3.การรายงานสรุปผลประจำปี 1.รายงานผล 2.การตรวจรับและติดตาม 3.การรายงานสรุปผลประจำปี
การประเมินแบ่งได้เป็น 3 ระยะ 1. การประเมินผลก่อนเริ่มโครงการ 2. การประเมินผลระหว่างดำเนินการ 3. การประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
จบการนำเสนอ ร่างแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 2552)