โดย สุกาญจนา ทิพยเนตร
1. สร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงที่ นำมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ สู่ชำนาญการ และจากชำนาญการสู่ผู้ปฏิบัติ 3. รวมพลังสร้างสรรค์ผลงานใหม่ของกลุ่ม ชำนาญ / เชี่ยวชาญ 4. ส่งเสริมบุคลากรระดับปฏิบัติการรุ่นใหม่ๆให้ ก้าวไปสู่ความเป็น ชำนาญการ / เชี่ยวชาญ วัตถุประสงค์ของโครงการ
ศึกษาข้อมูลจำนวนบุคลากรระดับชำนาญ การ / เชี่ยวชาญ จากงานการเจ้าหน้าที่ สำนัก วิทยบริการ รวบรวมปัญหาการจัดเก็บและการรายงาน ผลงานของชำนาญการ / เชี่ยวชาญ ของสำนัก วิทยบริการในแต่ละปี ระดมความคิดในการสร้างประชุม ปรึกษาหารือเพื่อหาแนวทางในการสร้าง แหล่ง จัดเก็บและเผยแพร่ความรู้ของ ผู้ปฏิบัติงานระดับชำนาญการ / เชี่ยวชาญของ สำนักวิทยบริการบน KKU Blog
ทดสอบการใช้งานโดยศึกษาการใช้โปรแกรม Adobe Acrobat และ การทำ Mata Data ใน แฟ้มข้อมูลเพื่อป้องกันการทำคัดลอก บทความ / งานวิจัย ในการจัดการเผยแพร่โดย แนบข้อมูลฉบับเต็มเพื่อประโยชน์ในการ เผยแพร่ความรู้ ดำเนินการจัดอบรม
จัดอบรมวิธีการจัดเก็บข้อมูลให้แก่ผู้ปฏิบัติงานระดับชำนาญ การที่สนใจเข้าร่วมโครงการ คลังปัญญาชำนาญการ / เชี่ยวชาญ สำนักวิทยบริการ วันที่ 4 สิงหาคม 2553
ทดลองจัดเก็บข้อมูลของชำนาญการ / เชี่ยวชาญไว้ใน KKU Blog เว็บไซต์ เป็น แหล่งจัดเก็บข้อมูลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผู้ปฏิบัติงานระดับชำนาญการโครงการ โดยรายการ ที่ Upload ขึ้นให้กำหนด tag ว่า ” คลังปัญญา ชำนาญการ ” เพื่อให้สามารถสืบค้นได้จาก Web browser”
ได้รับความร่วมมือ ให้ข้อเสนอแนะและ คำปรึกษาเป็นอย่างดีจาก ผู้ร่วมโครงการ ผู้บริหารให้ความสนับสนุน ผู้ปฏิบัติงานระดับชำนาญการที่เข้ารับการ อบรมให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
KKU Blog ใช้เครื่อง PC ควรมีแหล่งจัดเก็บ serve โดยเฉพาะ ระยะเวลาในการดำเนินงานจำกัดบุคลากรไม่ สามารถเข้าร่วมรับการอบรมได้ทั้งหมด ในระดับสำนักวิทยบริการควรกำหนด นโยบายให้บุคลากรระดับชำนาญการ / เชี่ยวชาญ ส่งเอกสารฉบับเต็มไว้ ในคลัง ปัญญาชำนาญการ / เชี่ยวชาญ สำนักวิทย บริการ ในระดับมหาวิทยาลัยควรมีการกำหนด นโยบายในการเผยแพร่ผลงานประจำปีของ ผู้ปฏิบัติการระดับชำนาญการ / เชี่ยวชาญใน คลังปัญญามหาวิทยาลัยขอนแก่น