รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
Risk Management JVKK.
Patient Safety Walk Rounds :
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
II – 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
Medication reconciliation
การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินแบบเชิงรุก ดูแลถึงบ้าน รพ
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
25/07/2006.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
การสื่อสารยุทธศาสตร์ปี 2558
คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม

แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
PCT ทีมนำทางคลินิก.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย patient care team รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย

หน้าที่ เป้าหมาย ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ผลการรักษาในผู้ป่วย หน้าที่ เป้าหมาย ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ผลการรักษาในผู้ป่วย เป็นไปตามมาตรฐาน 3. บุคลากรมีความรู้และทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพ 4. ผู้ป่วยมีความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองได้ 5. เกิดความเชื่อมโยงในการดูแลสุขภาพในระดับชุมชน จัดทำแนวทางการรักษาและพัฒนาระบบบริการสุขภาพ พัฒนาระบบริการสุขภาพทั้ง 4 มิติ สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย

จุดเน้นในการพัฒนาและเข็มมุ่งในปี 2557-58 ของโรงพยาบาล กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย (SIMPLE) I1. Hand Hygiene M1.2: Improve the safety of High-Alert Drug Medication reconciliation P 2.1 Effective Communication – SBAR E1: Response to the Deteriorating Patient/ RRT E3: Acute Coronary Syndrome

จุดเน้นในการพัฒนาและเข็มมุ่งในปี 2557-58 ของทีม PCT จุดเน้นทีม PCT : พัฒนาการดูแลผู้ป่วยตามนโยบายความปลอดภัย( SIMPLE) โดยเน้น P2.1: การสื่อสารการรายงานแพทย์โดยใช้ SBAR E1: การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงกรณีผู้ป่วยอาการทรุดลงโดยใช้การประเมินและเฝ้าระวังผู้ป่วยโดยใช้เกณฑ์ warning signs E3: Acute coronary syndrome (ACS)

P2.1: การสื่อสารการรายงานแพทย์โดยใช้ SBAR Situation: สถานการณ์ที่ทำให้ต้องรายงาน - ระบุตัวผู้รายงาน หน่วยงาน ชื่อผู้ป่วย หมายเลขห้อง - ระบุปัญหาสั้นๆ เวลาที่เกิด ความรุนแรง Background: ข้อมูลภูมิหลังเกี่ยวกับสถานการณ์ - การวินิจฉัยเมื่อแรกรับและวันที่รับไว้ - บัญชีรายการยา สารน้ำที่ได้รับ การแพ้ยา การตรวจทดสอบทางห้องปฏิบัติการ - สัญญาณชีพล่าสุด --ข้อมูลทางคลินิกอื่นๆ - Code status   Assessment: การประเมินสถานการณ์ของพยาบาล Recommendation: ข้อเสนอแนะหรือความต้องการของพยาบาล

ตัวอย่างสถานการณ์ SBAR S: สวัสดีค่ะ จุฑารัตน์รายงาน case จาก ER ค่ะ เป็น case ผป. หญิง อายุ 57 ปี โรคประจำตัว เบาหวาน มาด้วยถามตอบไม่รู้เรื่อง ซึมลง ก่อนมา 30 นาที B: V/S แรกรับ T=36.5, P=90, R=14, BP 100/70 DTX= 30% ให้ 50% glucose 50 ml vein push ไป A: หลังให้ 50% glucose ไปแล้ว 5 นาที ผป. ตื่น รู้ตัวรู้เรื่อง E4V5M6 R: คิดว่าเป็น symtompatic hypoglycemia ต้องได้ admit ตาม CPG เชิญแพทย์มาเยี่ยม case

E1: การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงกรณีผู้ป่วยอาการทรุดลง ( Response to the Deteriorating Patient/ RRT ) โดยใช้ Early warning เจ้าหน้าที่ที่ดูแลผู้ป่วย รู้สึกไม่สบายใจเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย PR < 40 or > 130 bpm SBP < 90 mmHg RR < 8 or > 28 bpm O2 Sat < 90% ทั้งที่ให้ O2 ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ปริมาณปัสสาวะ < 50 ml in 4 hr

จุดเน้นในการพัฒนาและเข็มมุ่งในปี 2556-57 กลุ่มโรคเรื้อรัง : DM,HT,COPD กลุ่ม Non-Trauma : Acute Coronary Syndrome กลุ่ม Trauma: Head Injury กลุ่มโรคติดต่อ: HIV TB

Specific clinical risk DM /HT : ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันและเรื้อรัง COPD : การควบคุมภาวะ Exacerbation ACS : การได้รับการดูแลถูกต้องและรวดเร็ว HI : การได้รับการดูแลถูกต้องและรวดเร็ว HIV : ผู้ป่วยไม่มีภาวะเชื้อดื้อยา ,ไม่เกิดผู้ป่วยรายใหม่ TB : ผู้ป่วยไม่มีภาวะเชื้อดื้อยา ,ไม่เกิดผู้ป่วยรายใหม่

กระบวนการหลักในการดูแลผู้ป่วย การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผนดูแลผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ผู้ป่วยและครอบครัว การดูแลต่อเนื่อง

1. การเข้าถึง ผู้ป่วย Hypoglycemia สามารถเรียกใช้ระบบ EMS ถ้ามารับบริการเอง สามารถรับบริการที่ห้องอุบัติ-ฉุกเฉิน ได้ทันที 2. การประเมิน ได้รับการประเมินสภาพแรกรับโดยพยาบาลวิชาชีพทันที ได้รับการตรวจ investigation เพื่อค้นหาการวินิจฉัย 3. การวางแผนดูแล มี CPG ในการดูแลผู้ป่วย Hypoglycemia มีการวางแผนจำหน่ายที่สอดคล้องกับปัญหาของผู้ป่วย

กระบวนการหลักในการดูแลผู้ป่วย (ต่อ) 4. การดูแลผู้ป่วย ปฏิบัติตาม CPG ในการดูแลผู้ป่วย ค้นหาสาเหตุของการเกิด Hypoglycemia และการแก้ไข 5. การให้ข้อมูลและเสริมพลัง แจ้งผป. และญาติ เกี่ยวกับสาเหตุของการเจ็บป่วยในครั้งนี้ ประเมินและเสริมความรู้ เรื่องอาการและการแก้ไขอาการเบื้องต้นในเรื่องของ Hypoglycemia 6. การดูแลต่อเนื่อง มีเกณฑ์ในการติดตามเยี่ยมบ้าน โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ