สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความจำเป็นที่ต้องจัดเก็บข้อมูล ของผู้ที่เป็นบุตรบุญธรรม
Advertisements

สมาชิก 1.น.ส.เจตนิพิฐ พงศ์พฤกษธาตุ เลขที่ 15 2.น.ส.ชนิตา ปรีชากิตติไพศาล เลขที่ 16 3.น.ส.ปฏิมาล์ ศิริพิรุณ.
สถาบันการศึกษา.
สถาบันศาสนา.
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
การค้ามนุษย์.
สถาบันการศึกษา.
เรื่อง สถาบันการศึกษา
สถาบันการศึกษา.
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
สถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆในสังคม
คณิตศาสตร์ ในอารยธรรม กรอบความคิดทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ กับการใช้งาน
การจัดการศึกษาในชุมชน
การศึ กษา ในระบบ นอกระบบ ธรรมดา วิสัย. การศึ กษา ยั่งยืน การ พัฒนา พึ่งพิง ภายนอก พัฒนา พื้นฐาน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง.
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
จรรยาบรรณครู จรรยาบรรณข้อที่ 1 ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้ กำลังใจใน การศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า จรรยาบรรณข้อที่
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การปลูกพืชผักสวนครัว
ประวัติการศึกษาไทย.
รศ.ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
( Human Relationships )
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
โครงงานเกมส์บวกเลขหรรษา
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
สถาบันเศรษฐกิจ.
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
สถาบันการเมืองการปกครอง
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
เรื่อง ระบบเทคโนโลยี 1.นางสาว จุฑามาศ สุทธศิลป์ เลขที่ 11
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ความเป็นครู.
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
ชิ้นที่ 2 นางสาวจรรยา พุฒเจริญ คอมฯถูกใช้ในการออกแบบ สถานการณ์หรือปัญหาที่ ซับซ้อนต่างๆ.
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
เรื่อง การออกแบบรถยนต์
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม.4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม.4/6 เลขที่4 นายชัชชล ศิริจันทราวงษ์ ม.4/6 เลขที่14 นายสรัล สุทธวาสน์ ม.4/6 เลขที่19 นางสาวพิมพ์ลภัส ทวีวุฒิ ม.4/6 เลขที่34 นางสาวปลายฟ้า ถึกไทย ม.4/6 เลขที่39 นางสาวสุกัญญา แก้วสว่าง ม.4/6 เลขที่40 นางสาวธัญชนิต พึ่งบาง ม.4/6 เลขที่43

1.เพราะเหตุใดสถาบันการศึกษาจึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม

สถาบันการศึกษา การศึกษามีบทบาทสำคัญต่อสังคมในปัจจุบัน การศึกษามิใช่เป็นเรื่องของการแสวงหาความรู้เฉพาะด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น หากแต่เป็นการศึกษาเพื่อให้เกิดความคิดและเกิดปัญญาในอันที่จะนำความรู้นั้น ไปใช้แก้ไขปัญหา และพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมให้เจริญก้าวหน้า ฉะนั้น สถาบันการศึกษาจึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม เพราะการศึกษากระตุ้นให้คนมีความคิด มีความกระตือรือร้น มีความพยายาม และพร้อมที่จะปรับปรุงหรือปฏิรูปสิ่งต่างๆ ให้ดีขึ้น

2.รูปแบบของสถาบันการศึกษามีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

3. การศึกษาแบบอรูปนัย ต่างจาก การศึกษารูปนัย อย่างไร

รูปแบบของการศึกษา 1.การศึกษาแบบอรูปนัย (Informal Education) ได้แก่ การเรียนรู้จาก การอบรมสั่งสอนของบิดามารดาและญาติพี่น้องในครอบครัว หรือการเลียนแบบจากเพื่อเล่นที่โตกว่าในกลุ่มเดียวกันจนกลายเป็นความรู้ความชำนาญถ่ายทอดสืบต่อกันมา 2.การศึกษารูปนัย (Formal Education) ได้แก่ การศึกษาซึ่งตกเป็นหน้าที่ของกลุ่มบุคคลหรือตัวแทนของสังคม การศึกษาแบบนี้ได้เกิดขึ้นในสมัยที่มนุษย์รู้จักประดิษฐ์ตัวอักษร คิดค้นวิชาคำนวณ มีความก้าวหน้าทางเกษตรกรรม รู้จักใช้แร่ธาตุให้เป็นประโยชน์

4.ยกตัวอย่างจุดมุ่งหมายของการศึกษา

ความมุ่งหมายของการศึกษา 1.ส่งเสริมสุขภาพทั้งทางกายและจิตใจ 2.ส่งเสริมความรู้สามัญทั่วไป 3.ส่งเสริมความเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว 4.เตรียมตัวเพื่อชีวกิจ 5.สร้างคนให้เป็นพลเมืองดี 6.สร้างคนให้มีอัธยาศัยและมีความประพฤติที่ดีงาม

5. ทำไมถึงต้องอบรมให้สมาชิกได้เรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพ

หน้าที่สำคัญของสถาบันการศึกษา 1.อบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม สอนให้สมาชิกในสังคมได้พัฒนาบุคลิกภาพ มีกิริยามรรยาท มีจริยธรรม คุณธรรม เคารพในสิทธิของผู้อื่น ปฏิบัติตามหน้าที่ของตน 2.อบรมให้สมาชิกได้เรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพ เพื่อการดำรงชีวิตเพื่อเพิ่ม ผลผลิตในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การบริการ นอกจากสอนให้ผู้คนได้เรียนรู้ในการประกอบอาชีพแล้ว สถาบันการศึกษายังมีหน้าที่ในการพัฒนาอาชีพ ริเริ่มสร้างสรรค์อาชีพ เพื่อผลผลิตใหม่ที่จะสนองความต้องการของสังคม

3.จัดสรรตำแหน่งและกำหนดหน้าที่การงานให้แก่บุคคล เพื่อบุคคลได้เรียนรู้ในอาชีพใด มีความสามารถในทางใด ก็จะไปทำงานในอาชีพนั้น 4.ช่วยให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ ในสังคม เมื่อการศึกษาเจริญก้าวหน้าขึ้น ก่อให้เกิดความรู้ แนวคิด เทคนิคใหม่ ๆ การค้นพบต่าง ๆ ทำให้เกิดการประดิษฐ์สิ่งของอุปกรณ์เครื่องใช้ต่าง ๆ และมีการพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 5.ช่วยให้สังคมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ผลจากการศึกษาอบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผน วัฒนธรรมเดียวกัน ยิ่งถ้ามีการใช้ภาษาเดียวกันในการติดต่อสื่อสาร จะทำให้เกิดความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน มีความผูกพันกันดีขึ้น

6.ช่วยให้เกิดการเลื่อนชั้นทางสังคม ในทุกสังคมย่อมประกอบด้วยชนชั้นและจากการมีชนชั้น ซึ่งจัดว่าเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมนั้น สมาชิกส่วนหนึ่งย่อมจะมีความต้องการเลื่อนชั้นทางสังคมและปัจจัยหนึ่งจะช่วยได้ ก็คือ การศึกษา เพราะ การศึกษาจะช่วยเพิ่มโอกาสในการได้รับตำแหน่งหน้าที่การงานที่สูงขึ้น มีเกียรติได้รับการยกย่อง 7.ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพเฉพาะของสมาชิกจากการเรียนรู้ในวิชาต่าง ๆ เขาอาจสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องและกลายมาเป็นคุณสมบัติประจำตัวเขา เช่น ความรักในศิลปะและดนตรีหรือความซาบซึ้งในวรรณกรรม ความสนใจ ทางการเมือง ฯลฯ