การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Charoen pokphand foods pcl.
Advertisements

คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
6.ข้อจำกัดในการพัฒนาปศุสัตว์
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
สรุปผลการประชุมกลุ่มที่ 3
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
นโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก”
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
ธุรกิจประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส ในการแข่งขัน ให้เป็นสินค้าที่มีคุณภาพ และปลอดภัย อ.นสพ.สุวิทย์ โชตินันท์ ภาควิชาสัตว์บริโภค คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สภาพของระบบการผลิตไก่พื้นเมืองในปัจจุบัน ไก่พื้นเมืองมีศักยภาพในการผลิตในรูปแบบฟาร์มครบวงจร ความต้องการการบริโภคสูง ทั้งในท้องถิ่น ตลาดกลาง และตลาดระดับบน การผลิตไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่ มีการขยายตัวสูง  งานวิจัย และการส่งเสริม การผลิต คอขวดของการผลิต คือ ทำอย่างไร ให้เป็นที่ยอมรับ

อุปสรรค ปัญหา การจำหน่ายผลผลิตเข้าสู่ตลาดกลาง (Modern trade) และตลาดบน การส่งออกไปจำหน่ายในต่างประเทศ การเคลื่อนย้ายสัตว์ ความเสียหายจากโรคระบาดต่างๆ การปนเปื้อนเชื้อที่ก่อโรคระบบทางเดินอาหารที่ติดต่อสู่คน เช่น ซัลโมเนลลา

สิ่งที่ต้องการการพัฒนา มาตรฐานการผลิตสัตว์ปีก สำหรับไก่พื้นเมือง ทั้งห่วงโซ่การผลิต เกษตรกรและผู้ผลิตที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปปรับใช้ได้ การวิจัย “การพัฒนาระบบการผลิตไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่สู่อาหารปลอดภัย ต่อผู้บริโภค” การวิจัยแบบปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ประดู่ หางดำเชียงใหม่ ตั้งแต่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ

วิธีการพัฒนา มาตรฐานการผลิต ต้องมีมาตรฐานเดียว ปรับใช้เกณฑ์จากข้อกำหนดมาตรฐาน ของกรมปศุสัตว์ มาตรฐานฟาร์มไก่พันธุ์ มาตรฐานโรงฟักไข่ มาตรฐานฟาร์มไก่เนื้อ มาตรฐานโรงเชือดสัตว์ปีก เขียงอนามัย

การพัฒนาระบบการผลิตของเครือข่าย การพัฒนาระบบการผลิตของเครือข่ายทั้งต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ความยั่งยืนของการพัฒนา (Sustainability) ต้นแบบระบบการผลิต เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวงกว้าง “How to…”

ระบบการผลิตไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่ ฟาร์มผลิตพันธุ์ไก่ - ฟาร์มขนาดใหญ่ แม่พันธุ์ >1,000 แม่ - ฟาร์มขนาดเล็ก แม่พันธุ์ 300 แม่ ฟาร์มเลี้ยงไก่ขุน - ฟาร์มขนาดใหญ่ >25,000 ตัว/ปี - ฟาร์มขนาดเล็ก <5,000 ตัว/ปี เกษตรกรผลิตพันธุ์ไก่ (เลี้ยงแบบธรรมชาติ) - เกษตรกรรายย่อย แม่พันธุ์ไก่<10 แม่ - เกษตรกรรายกลาง แม่พันธุ์ไก่< 30 แม่ โรงฆ่า< 50 ตัว/วัน โรงฆ่า >50 ตัว/วัน ร้านขายไก่สด ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ

กระบวนการพัฒนาระบบการผลิต 1. การผลิตในปัจจุบัน 2. วิเคราะห์จุดเสี่ยง สร้างแนวทางการพัฒนา 3. นำแนวทางการพัฒนาไปปฏิบัติ 4. ข้อเสนอเชิงนโยบาย แบบประเมินฟาร์ม การสังเกต การสนทนา การสัมภาษณ์ การเก็บตัวอย่างเพื่อตรวจเชื้อซัลโมเนลลา การวิเคราะห์ช่องว่าง การวิเคราะห์จุดเสี่ยง ผลของซัลโมเนลลา การทวนผลวิเคราะห์ นำข้อแนะนำไปปฏิบัติ ติดตาม ประเมินผล สร้างต้นแบบระบบการผลิต การถ่ายทอดผลการศึกษาสู่ระดับนโยบาย พัฒนา Policy recommendation

กระบวนการ We used at least 4 methods to collected data, because each method has own weak point, so other method will strengthen each one.

ขบวนการเชือด กับการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลา

Gap analysis - Neck cutting Requirement (DLD standard) Actual practices Desired practices Recommendation 1. Slaughter with animal welfare - Hanging - Neck cutting - Change the slaughter method from hanging to neck cutting 2. Measures to prevent the carcass or meat contaminated with dirt -Carcass and meat were put on the floor -Carcass and meat, not touching the floor Using table Hanging the carcasses 3. Production area is divided separate of clean area and the unclean area -No areas were divided -Clean area and dirty area are divided - Construct the clean area and the dirty area separately 4. Vehicle, equipment table, saws and container in slaughterhouse must be cleaned and sterilized before and after work and during the operation -Those equipment are not cleaned daily -Those equipment must be cleaned daily Clean the equipment dairy 5. Provide area for the disposal of garbage and sewage and sanitary manner - No area for solid waste disposal - No method to dispose the liquid waste - Set area for waste and solid waste disposal ->>………..

ผลการพัฒนาระบบการผลิตของเครือข่าย เกษตรกรต้องการคำแนะนำ ที่นำไปปฏิบัติได้ทันที ข้อกำหนดของมาตรฐาน หลายประการ ต้องปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับไก่ พื้นเมืองอย่างแท้จริง เกษตรกรรายย่อย  ปล่อยหากินตามธรรมชาติ โครงสร้างโรงฆ่า เหมาะสมกับโรงเชือดขนาดใหญ่

This is the SLH design from DLD that the owner has to has high investment

ผลการพัฒนาระบบการผลิตของเครือข่าย ตลาดเนื้อไก่ระดับกลางและบน ต้องการเนื้อไก่ที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน เนื้อไก่ ต้องผลิตจากระบบการผลิตที่ได้มาตรฐานด้วย เกษตรกรที่สามารถปฏิบัติได้ คือกลุ่มผู้เลี้ยงเป็นอาชีพหลัก ได้แก่ กลุ่มผู้เลี้ยง ไก่พันธุ์ ไก่ขุน เกษตรกรรายย่อย ยังไม่สามารถพัฒนาตามข้อกำหนดได้ทั้งหมด ข้อกำหนด การเลี้ยงไก่พื้นเมืองที่ดี อาจนำมาใช้ได้

ก่อนการพัฒนา- ฟาร์มผลิตไก่พันธุ์

ก่อนการพัฒนา- เกษตรกรรายย่อย

หลังการพัฒนา- เกษตรกรผลิตไก่พันธุ์

หลังการพัฒนา- เกษตรกรรายย่อย

ก่อนการพัฒนา- โรงเชือด

หลังการพัฒนา- โรงเชือด

ก่อนการพัฒนา- แผงจำหน่าย

หลังการพัฒนา- แผงจำหน่าย

การเปลี่ยนแปลงของเครือข่าย การเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม  มาตรฐานฟาร์ม & ความปลอดภัยทางอาหาร การเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต  การพัฒนาระบบการผลิต แนวทางการพัฒนาที่เครือข่ายสามารถปฏิบัติได้

การถ่ายทอด การขยายผลงานวิจัย

โรคฆ่าสัตว์ปีกขนาดเล็กอื่นๆ It is not good for food-safety

แผงจำหน่ายอื่นๆ

ความท้าทาย (Challenge) การพัฒนาระบบการผลิต ทั้งฟาร์ม โรงเชือด และแผงจำหน่าย เป็นการ เปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรม ความพร้อมด้านเงินลงทุน ผลตอบแทนจากการลงทุน การรวมตัวกันของเครือข่าย การช่วยเหลือภายในกลุ่ม การยอมรับข้อมูล ทัศนคติเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง และความปลอดภัยด้านอาหาร

ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง แรงจูงใจทางเศรษฐกิจ (Economic incentives) ผลกระทบทางเศรษฐกิจ (Economic impact) ความมั่นคงทางอาชีพ อาชีพหลัก/อาชีพเสริม ภาวะทางการเงิน

การพัฒนาระบบการผลิต มีความจำเป็น มากเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน หลักประกันอาชีพ ข้อกำหนด ต่างๆ เกษตรกรปฏิบัติได้และมีมาตรฐานเดียว หลายๆ หน่วยงาน โดยเฉพาะผู้กำหนดนโยบาย มีส่วนสำคัญมาก ในการนำ ผลงานไปใช้ประโยชน์

ขอบคุณครับ