การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย เขตบริการสุขภาพที่ 7

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

ความจำเป็นที่ต้องจัดเก็บข้อมูล ของผู้ที่เป็นบุตรบุญธรรม
รายงานผลการดำเนินงาน บริหารจัดการค่าใช้จ่าย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข วันที่ 30 สิงหาคม 2553.
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
Health Promotion & Prevention
Health Promotion & Prevention
ดัชนีผู้ป่วยในรายเขต ร้อยละของผู้ป่วยในที่ RW<0.5
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
ครูโมบาย ครูโมบาย เป็นการบริการทางการศึกษารูปแบบใหม่
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
การดำเนินงานสาธารณสุขจากอดีตถึงปัจจุบัน
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
แนวทางการลงทะเบียนแทนเด็ก 0-5 ปี 16 มิถุนายน 2554
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
ร้อยละของผู้ป่วยในที่ RW<0.5(ไม่รวมRW_LR<0.5)
กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข งบประมาณ ปี การส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน โครงการจัดทำชุดความรู้ประสบการณืการจัด กิจกรรมของครู โครงการจัดการความรู้
ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน มีนาคม - มิถุนายน 2549
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
จำนวนผู้มารับบริการฝากครรภ์
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพนครชัยบุรินทร์ ประจำปี 2558
อนาคตระบบบริการสุขภาพ
ความคาดหวังของเขตสุขภาพต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
Pass:
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
การบันทึกข้อมูล ในโปรแกรมJHCIS ให้ครบถ้วน ทุกแฟ้ม ตามรายงาน 18 แฟ้ม
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
โครงการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อพัฒนาเด็กไทย มีโภชนาการสมวัย
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
กำหนดตรวจราชการฯ (M&E) สสจ.เพชรบุรี เลื่อนจาก วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 เป็นวันที่ 28 พฤษภาคม 2557.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ชัฌฎา ลอม ศรี นักจิตวิทยา แนวทางการ ดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย เขตบริการสุขภาพที่ 7 คณะที่ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย เขตบริการสุขภาพที่ 7 รับผิดชอบ 4 กรม

ผู้สูงอายุและผู้พิการ สตรีและเด็ก 0-5 ปี - มารดาตาย<15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน - พัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า 85% ผู้สูงอายุและผู้พิการ การพัฒนา สุขภาพ ตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี ตายจากโรคหลอดเลือดสมอง <190 ต่อแสน ปชก. ผู้พิการ (ขาขาด) ได้รับบริการ 100% ภายใน 3 ปี - ภาวะอ้วน ไม่เกิน15% - IQ ไม่น้อยกว่า 100 วัยทำงาน 15-59 ปี เด็กวัยรุ่น 15-21 ปี ตายจากอุบัติเหตุ <20ต่อ แสน ปชก. - ตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ <23 ต่อแสน ปชก. - อัตราคลอดมารดาอายุ 15-19ปี ไม่เกิน 50 ต่อพันคน ความชุกผู้ดื่มแอลกอฮอล์ ไม่เกิน 13 %

รอผลการประเมินจากกรมอนามัย ตัวชี้วัด เป้าหมาย กส ขก มค รอ. รวม 1.อัตราส่วนมารดาตาย ≤15:100000 19.15 14.79 0.00 15.98 12.89 2.ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ≥ร้อยละ 85 97.95 99.93 98.25 99.05 99.27 3.ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน ≤ร้อยละ 15 7.08 12.27 5.99 6.33 8.40 4. ความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย - ร้อยละของเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ปัญหา IQ/EQ ได้รับการดูแล 100 93.78 95.93 95.28 91.65 ≥ร้อยละ 70 5.อัตราการคลอดในสตรีอายุ 15-19 ปีต่อเกิดมีชีพ1,000 คนในสตรี 15-19 ปี (Com.Based) ≤50:1000 6.ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15-19 ปี ≤ร้อยละ 13 5.47 3.45 7.89 9.01 6.46 7.อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ≤20:100000 6.41 3.59 6.97 7.41 5.72 8.อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ≤23:100000 3.07 11.64 20.94 6.27 11.05 9.อัตราตายจากโรคสมองในผู้สูงอายุ ≤190:100000 3.44 113.38 192.38 86.63 10.คนพิการทางการเคลื่อนไหว(ขาขาด)ได้รับบริการครบถ้วน ≥ร้อยละ 80 100.0 93.64 84.58 81.86 89.16 รอผลการประเมินจากกรมอนามัย คณะ 1(1.2) มีตัวชี้วัด 10 ตัว ตัวที่4 ระดับสติปัญญา ปี 2557 อยู่ระหว่างดำเนินการ นำเสนอของปี 2554 ใช้ตัวชี้วัดรองมาวางคือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง( ที่ค้นพบในพื้นที่นำร่องในการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง) ได้รับการดูแลแก้ไข ร้อยละ 100 ตัวที่ 5 รอผลประเมินสิ้นปีจากกรมอนามัย (ตามที่ Template กำหนด ถ้าดูตามระบบรายงาน คณะ 1 ผ่านเกือบทุกตัวที่รายงาน ยกเว้นเรื่อง IQ

สรุปปัญหา ลำดับความสำคัญของปัญหา ลำดับที่ ตัวชี้วัด อนามัยแม่และเด็ก 1.มารดาซีด (18.81) 2. เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยต่ำ (70.8) 2. แม่วัยรุ่น อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี มีแนวโน้มสูงขึ้น 3.ไอคิวในเด็ก วัยเรียน ไอคิวเฉลี่ยในเด็กวัยเรียนต่ำกว่า 100 จุด 4. NCD อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจมีแนวโน้มสูงขึ้น 5. สังคม ผู้สูงอายุ แนวโน้มผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นมาก แต่เราได้วิเคราะห์สภาพปัญหาและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง พบปัญหาสำคัญดังนี้ 1.ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก มี 2 เรื่องคือ หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด สูง พัฒนาการสมวัยในเด็กปฐมวัยจากผลสำรวจเพิ่มขึ้นจา 63.5 ในปี 2552 เป็น 70.8 ในปี 2557 ยังต้องพัฒนาระบบบริการในระดับปฐมภูมิและระบบเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการในชุมชนโดยผู้ปกครอง 2.แม่วัยรุ่น มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นถ้าดูสถิติย้อนหลัง 3 ปี ต้องร่วมกับภาคีเครือข่ายแก้ไขในเชิงบูรณาการต่อเนื่อง รวมทั้ง เพิ่มความครอบคลุมเรื่องเพศศึกษารอบด้านในโรงเรียนระดับประถมและมัธยม เพิ่มการเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมาย

สุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัย มาตรการเร่งด่วน ตั้งครรภ์/คลอด/หลังคลอด early ANC Risk identification Risk management (ระบบคัดกรอง-ส่งต่อ-fast track) คุณภาพ/มาตรฐานบริการ ระบบเฝ้าระวัง มาตรการเร่งด่วน เด็กปฐมวัย early detection Early intervention Parenting skill อัตราส่วนมารดาตาย ≤15:100,000 LB เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 ขึ้นไป

ผลการตรวจพบอะไร อัตราส่วนมารดาตาย :แสนLB

สภาพปัญหา/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง มารดาซีดเขตบริการสุขภาพที่ 7 ผลM&Eพบอะไร สภาพปัญหา/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง มารดาซีดเขตบริการสุขภาพที่ 7 ธาลัสซีเมีย (26%) โรค 10.86% พาหะ 69.55% ขาดธาตุเหล็ก 18.49 % -ภาวะ โภชนาการ -การกินยาธาตุ เหล็ก มารดา มีภาวะซีด (18.81 %) -ฝากครรภ์>12 wks 67.7% -ฝากครรภ์ 5 ครั้ง = 65.9% - ระบบเฝ้าระวัง

เด็กได้รับยาธาตุเหล็ก ผลการตรวจพบอะไร สภาพปัญหา/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตบริการสุขภาพที่ 7 กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน (59.51%) LBW (8.06%) พัฒนา การสมวัยต่ำ (70.8) ภาวะขาดไอโอดีน - TSH (7.08%) ในปัสสาวะเด็ก (15.68%) ในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ (50.58%) BA (30.64 : 1000LB) ANC < 12 wk (56.1) ANC 5 ครั้งคุณภาพ (48.1) เด็กได้รับยาธาตุเหล็ก (24.6%) ภาวะโภชนาการ - เตี้ย (18.3 %) ผอม (16.3 %) อ้วน (14.6 %) ปัญหาการเลี้ยงดู มีการเล่าหรืออ่านนิทาน (52.2%) เล่นโดยใช้สื่ออิเลคโทรนิกส์ทุกวัน(93.1%) เด็กได้รับตรวจสุขภาพช่องปาก (60.9%) การเลี้ยงดูโดยย่า ยาย

What Next มารดาตาย พัฒนาการเด็กสมวัย กลไก MCH B. ระดับเขต/จังหวัด 2. เพิ่มความครอบคลุมในหญิงตั้งครรภ์ -การกินยาเม็ดเสริมไอโอดีน -การเข้าถึงบริการเร็ว 3.วิจัยและพัฒนาเพื่อ แก้ไขภาวะซีดใน หญิงตั้งครรภ์ 1.เพิ่มคุณภาพระบบบริการ ลดภาวะขาดออกซิเจนระยะแรกเกิด โรงเรียนพ่อแม่ของสถานบริการทุกระดับ ระบบเฝ้าระวังในสถานบริการ 2.การมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน ทักษะบุคลากรในการสื่อสาร สร้างความตระหนักของพ่อแม่ ผู้ปกครอง พัฒนาระบบเฝ้าระวังในชุมชน 3.รูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการในสถานบริการและในชุมชน 1.ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก มี 2 เรื่องคือ หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดสูงและ พัฒนาการสมวัยในเด็กปฐมวัยจากผลสำรวจเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 63.5 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 70.8 ในปี 2557 ยังต้องพัฒนาระบบบริการในระดับปฐมภูมิและระบบเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการในชุมชนโดยผู้ปกครอง

กลุ่มวัยเรียน

ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน ไม่เกินร้อยละ 15

สภาพปัญหา/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มวัยเรียน เขตบริการสุขภาพที่ 7 ผลการตรวจพบอะไร สภาพปัญหา/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มวัยเรียน เขตบริการสุขภาพที่ 7 0-5 ปี พัฒนาการสมวัยต่ำ (70.08%) TSH เกิน 11.2 (7.08%) LBW (8.07%) ภาวะโภชนาการในวัยเรียน - ภาวะโลหิตจาง ป. 1(28.4%) - เตี้ย(9.6%) ปี 56 ผอม (19.9%) ปี 56 ขาดสารไอโอดีน (11.9%) อ้วน (8.4 %) IQ ต่ำ 91.65-95.93 ปัญหาสุขภาพที่มีผลต่อ การเรียนรู้เด็กวัยเรียน สายตาผิดปกติ (4.5%) ปี 54 การได้ยินผิดปกติ (0.2%) ปี 54 โรคเหา (10.4%) ปี 55 ฟันผุ (68.2%) ปี 55 ปัญหาการเลี้ยงดู มีการเล่าหรืออ่านนิทาน (52.2%) เล่นโดยใช้สื่ออิเลคโทรนิกส์ทุกวัน (93.1%) การเลี้ยงดูโดยย่า ยาย ระบบการดูแลในศูนย์เด็กเล็ก

ค่าเฉลี่ยไอคิวต่ำในวัยเรียน What Next นักเรียนมีภาวะอ้วน มีเตี้ย มีผอม ค่าเฉลี่ยไอคิวต่ำในวัยเรียน 1.เฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และประสานความร่วมมือ คืนข้อมูลแก่ภาคีเครือข่ายรวมทั้งเชื่อมโยงกับคลินิก DPAC ในกลุ่มเด็กอ้วน 2.พัฒนาคุณภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพจากระดับทอง สู่ระดับเพชรเพิ่มขึ้น 3.ขยายผลโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ เพิ่มขึ้น แก้ไขปัญหาภาวะขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์และเด็กอย่างต่อเนื่อง พัฒนาระบบเฝ้าระวังและการแก้ไขปัญหากลุ่มวัยเรียนให้ครอบคลุมมากขึ้น 3. คุณภาพระบบบริการ และความครอบคลุมของการได้รับยาธาตุเหล็ก ตามชุดสิทธิประโยชน์ มี project management ระดับเขต และจังหวัด พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีข้อมูลครอบคลุมถูกต้อง นำไปใช้ได้ จากผลสำรวจ ปี 2554 ระดับสติปัญญาเฉลี่ยต่ำกว่า 100 จุด (ร้อยเอ็ด=91.65, กาฬสินธุ์=93.78, มหาสารคาม=95.28, ขอนแก่น=95.93) ปี 2557 กำลังดำเนินการ)

กลุ่มวัยรุ่น

อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี (50: 1000 ประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี) ผลการตรวจพบอะไร อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี (50: 1000 ประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี)

ผลการตรวจพบอะไร ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15 - 19 ปี (ไม่เกิน ร้อยละ 13)

สภาพปัญหา/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มวัยรุ่น เขตบริการสุขภาพที่ 7 ผลM&Eพบอะไร สภาพปัญหา/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มวัยรุ่น เขตบริการสุขภาพที่ 7 การเข้าถึงบริการ ไม่เคยรับ การปรึกษา 75% (ผลสำรวจ) เคยดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ (27.6%) ปี 55 มีมารดาวัยรุ่นสูงขึ้น มีความรู้ด้านเพศ ระดับต่ำ 42 % ระดับกลาง 33.49 % ระดับสูง 24.46 % พฤติกรรมด้านเพศ (ปี 55) เคยมีเพศสัมพันธ์ (15.15%) มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกอายุเฉลี่ย 15 ปี ใช้ถุงยางอนามัย 76.24 %

ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ What Next มารดาวัยรุ่น ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มี Teen Management ระดับเขตและจังหวัด พัฒนาเชิงบูรณาการต่อเนื่อง เช่น อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ /DHS คืนข้อมูลและประสานความร่วมมือกับท้องถิ่น ชุมชน โรงเรียน ให้ทำงานเชื่อมโยงกับสถานบริการ มากขึ้น พัฒนาฐานข้อมูล ให้สามารถนำมาวิเคราะห์สาเหตูหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้ เพิ่มความครอบคลุมการสอนเพศศึกษารอบด้านในโรงเรียนทั้งระดับประถมและมัธยมและการเข้าถึงบริการ เพิ่มการเข้าถึงวิธีคุมกำเนิดของวัยรุ่นมากขึ้น ขยายต้นแบบตำบลศีล 5 ปลอดสุรา บุหรี่ อบายมุข เช่นที่ ตำบลทุ่งกุลา อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 2.แม่วัยรุ่น มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นถ้าดูสถิติย้อนหลัง 3 ปี ต้องร่วมกับภาคีเครือข่ายแก้ไขในเชิงบูรณาการต่อเนื่อง รวมทั้ง เพิ่มความครอบคลุมเรื่องเพศศึกษารอบด้านในโรงเรียนระดับประถมและมัธยม เพิ่มการเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมาย

3.ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมินความเสี่ยง CVD มาตรการลดอัตราตายจาก โรคหลอดเลือดหัวใจ(<23:แสนประชากร) 4. 4. พัฒนาคุณภาพระบบบริการ - คลินิก NCD คุณภาพ - STEMI fast track - รพ.ระดับ M2-F2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด - รพ.A, S,M1, M2,F1,F2 สามารถให้การขยายหลอดเลือด 1.สื่อสารเตือนภัยสนับสนุนการลดปัจจัยเสี่ยง - 3อ2ส - สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 3.ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมินความเสี่ยง CVD 2.ประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงรายบุคคล -คลินิก DPAC -คลินิกอดบุหรี่ -คลินิกคลายเครียด

อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ผลการตรวจพบอะไร อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (23: 100,000 ประชากร) :ประชากร 100,000 คน

สภาพปัญหา/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มวัยทำงาน เขตบริการสุขภาพที่ 7 ผล M&E พบอะไร สภาพปัญหา/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มวัยทำงาน เขตบริการสุขภาพที่ 7 วัยทำงาน รอบเอวเกิน ชาย 20.3 % หญิง 52.9 % - BMIเกิน 43% พฤติกรรมวัยทำงาน สูบบุหรี่ 17.2 % ดื่มสุรา 22.7 % NCD (โรคหลอดเลือดหัวใจ 2554-2556 มีแนวโน้มสูงขึ้น) รพ.สต.ดำเนินการ คลินิกDPAC 82.59 % ร้อยละ clinic NCD 44.62% (ประเมิน 33/65 ผ่าน 29แห่ง)

What Next แนวทาง พัฒนาเชิงบูรณาการผ่านกระบวนการ DHS เพื่อขยายการดำเนินงานตามมาตรการที่ 1,2 เพิ่มขึ้น 2. เชื่อมโยงระบบบริการในสถานบริการกับการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น 3. สร้างกระแสเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อเนื่องและประเมินผลอย่างเป็นระบบ 4. NCD Board ระดับเขต/จังหวัด

แผนงานพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ/ผู้พิการ อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี วิธีการดำเนินงาน คัดกรอง Geriatric Syndrome ภาวะหกล้ม สมรรถภาพสมอง (MMSE) การกลั้นปัสสาวะ การนอนไม่หลับ ภาวะซึมเศร้า ข้อเข่าเสื่อม ประเมิน ADL คัดกรองโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ เบาหวาน 2. ความดันโลหิต 3. ฟัน 4. สายตา Outcome Indicator 1. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ ไม่เกิน 170 ต่อ ประชากรแสนคน ภายใน 5 ปี 2. คนพิการทางการเคลื่อนไหว(ขาขาด)ได้รับบริการครบถ้วน ร้อยละ 100 ภายใน 3 ปี Service Setting Impact Process Indicator - คัดกรองปัญหาสุขภาพทั้งด้านร่างกาย/จิตใจ วิเคราะห์จำแนก เพื่อดูแลรักษา/ ส่งต่อ พัฒนาระบบ/ ฐานข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุ การดูแลตัวเองและสนับสนุนกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คลินิกบริการ ผู้สูงอายุ ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ ผู้พิการคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ ร้อยละ 60 ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 - ประเมินเพื่อการดูแลระยะยาวตามสุขภาพและร่วมมือกับท้องถิ่นเพื่อดูแลสังคม - พัฒนาส้วมนั่งราบสำหรับผู้สูงอายุ อำเภอ/ตำบลสุขภาพดี 80 ปียังแจ๋ว

กรอบแนวคิดการดำเนินงานโรคหลอดเลือดสมอง อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ (ไม่เกิน 190 ต่อ ประชากรแสนคน) กรอบแนวคิดการดำเนินงานโรคหลอดเลือดสมอง Stroke fast track Stroke unit ผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณ 80 % มาช้า ไม่ทันเวลาให้ยา Door to needle time มากกว่า 60 นาที อัตราการให้ยายังน้อย ระบบส่งต่อในจังหวัดรวดเร็ว คล่องตัว เป็นเครือข่ายส่งต่อในเขต มีแนวทางการรักษาผู้ป่วย ischemic stroke สื่อสารถ่ายทอดความรู้สู่ประชาชน

อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมองไม่เกิน 190:100,000 ประชากร ผลการตรวจพบอะไร อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมองไม่เกิน 190:100,000 ประชากร

สภาพปัญหา/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มผู้สูงอายุ เขตบริการสุขภาพที่ 7 ผล M&E พบอะไร สภาพปัญหา/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มผู้สูงอายุ เขตบริการสุขภาพที่ 7 โรคในผู้สูงอายุ (สำรวจ) HT 22.6% โรคข้อและกระดูก 20.7% โรคตา 13.8 % DM 13.7% แนวโน้มผู้สูงอายุสูงขึ้น ปี 54 = 12.31 % ปี 55 = 12.85 % ปี 56 = 13.67 % เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ตำบล LTC 15.48% การเฝ้าระวัง (สำรวจ) ตรวจสุขภาพประจำปี 75.3% (น้ำหนัก ส่วนสูง ความดัน เบาหวาน ฟัน เต้านม)

ผู้พิการขาขาดได้รับบริการครบถ้วน ผลการตรวจพบอะไร ผู้พิการขาขาดได้รับบริการครบถ้วน ทุกจังหวัดทำงานร่วมกับเครือข่าย เพื่อการค้นหาที่ครอบคลุมในการลงทะเบียนและให้บริการที่ครบถ้วน มีแหล่งบริการอุปกรณ์อย่างเพียงพอ

What Next สังคมผู้สูงอายุ ผู้พิการขาขาด 1.มีการ update ข้อมูลการขึ้น พัฒนาระบบเฝ้าระวังและนำข้อมูลมาพัฒนาต่อเนื่อง 2. ดำเนินการตำบล LTC ให้ครอบคลุม 3. เชื่อมโยงระบบบริการในคลินิกผู้สูงอายุกับตำบล LTC ทั้งเรื่องข้อมูลและการส่งเสริมสุขภาพ และการรักษา 4.ระบบบริการ : เพิ่มความตระหนักให้แก่กลุ่มเสี่ยง (Stroke Awareness) เพิ่มการประชาสัมพันธ์ (Stroke Alert) ครอบคลุมถึงระดับปฐมภูมิ 1.มีการ update ข้อมูลการขึ้น ทะเบียน ต่อเนื่อง

สวัสดี