การจัดการสถานการณ์ในภาวะวิกฤติ เพื่อรองรับการชุมนุมประท้วง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
โครงการธนาพัฒน์เฮ้าส์ 1. เฝ้าระวังเตรียมความพร้อมจัดเตรียมกระสอบทราย และอุปกรณ์ จำเป็นป้องกันเบื้องต้นในทุกโครงการ ควบคุมระบบสาธารณูปโภค ที่สำคัญ คือระบบไฟฟ้า.
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
ระบบการบริหารการตลาด
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
เพื่อรับการประเมินภายนอก
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
ที่มา : ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
หัวข้อวิชา “งานศูนย์ปฏิบัติการสถานีตำรวจ”
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
กลุ่มที่ 1.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ระเบียบวาระการประชุม ณ ห้องประชุมกรมส่งเสริมการเกษตร ชั้น 2
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
กรมสุขภาพจิต. สรุปการดำเนินงาน โครงการรวมใจปรองดอง สมานฉันท์ กิจกรรมการ เยียวยาจิตใจ จำนวนรายชื่อผู้ได้รับผลกระทบ ผู้ได้รับบาดเจ็บและ ผู้เสียชีวิต ที่มีชื่อ.
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
น้ำท่วม 2554.
ระเบียบวาระการประชุม ระเบียบวารที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง เรื่องที่ 2  เรื่องการรายงานอุบัติเหตุ ( สอป.)  จัดทำหรือปรับปรุงระบบการรายงานการเกิด อุบัติเหตุให้มีประสิทธิภาพ.
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
บทที่ 9 การขายโดยบุคคล ความหมายของการขายโดยบุคคล
โครงสร้างองค์การส่วนกลาง (ฉบับแก้ไข)
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
สำนักสารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการสถานการณ์ในภาวะวิกฤติ เพื่อรองรับการชุมนุมประท้วง 10 มกราคม 2557

โครงสร้างทีมจัดการภาวะวิกฤติและการกอบกู้กิจกรรมสำคัญ (Business Continuity and Crisis Management Team : BCMT) ผู้อำนวยการ อภ. ประธาน รองผู้อำนวยการทุกท่าน กรรมการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการทุกท่าน ผู้เชี่ยวชาญพิเศษทุกท่าน ผู้อำนวยการฝ่าย/ผู้จัดการโรงงาน ทุกท่าน ผู้อำนวยการสำนักอำนวยการ เลขานุการ ผู้อำนวยการกองบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่ความรับผิดชอบ - พิจารณาขอบเขตวิกฤติการณ์และประเมินสถานการณ์ที่เกิดขึ้น - พิจารณาตัดสินใจภาวะวิกฤติ เพื่ออนุมัติใช้แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ สั่งการให้ ผอ.ฝ่าย/ผู้จัดการโรงงาน ที่ได้รับผลกระทบ นำแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจขององค์การ/ หน่วยงานมาใช้ ติดตามและรายงานสถานการณ์ - ชี้แจงหรือให้ข้อมูลข่าวสาร ภายในและภายนอกองค์กร - อนุมัติงบประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน

โครงสร้างทีมจัดการเหตุขัดข้อง (Incident Response Team: IRT) ผู้อำนวยการสำนักอำนวยการ ประธาน ผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล กรรมการ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารพัสดุและผลิตภัณฑ์ ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาดและการขาย ผู้อำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีและวิศวกรรม ผู้อำนวยการกองเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้อำนวยการกองประชาสัมพันธ์ ผู้อำนวยการกองบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ผู้อำนวยการกองความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม เลขานุการ หน้าที่ความรับผิดชอบ ประเมินผลกระทบของสถานการณ์, ความเสียหายต่อบุคคล/สถานที่ปฏิบัติงาน, สิ่งอำนวยความสะดวก, ระบบ IT และระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ - ประสานงาน สนับสนุนการดำเนินการแก้ไขปัญหา กับฝ่ายที่ได้รับผลกระทบ ติดตามและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบและแนวโน้มของระดับความรุนแรงของสถานการณ์เพื่อเสนอต่อ คณะ BCMT เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจประกาศภาวะวิกฤติ - สนับสนุนการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการสื่อสาร ภายในและภายนอกองค์กร

ประกาศสั่งหยุดงาน กิจกรรม ระดับ 1 (13 ม.ค.57) ระดับ 2 ระดับ 3 ไฟฟ้า-ประปา ไม่ถูกตัด ถูกตัด / ไม่ถูกตัด ลักษณะเหตุการณ์ ตั้งเวที 7 จุด + ปิดสถานที่ราชการ 1) ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ 2) สี่แยกปทุมวัน 3) แยกราชประสงค์ 4) ห้าแยกลาดพร้าว 5) อนุสาวรีย์ชัย 6) แยกอโศก 7) สวนลุมพินี เหตุการณ์ยืดเยื้อไม่เกิน 7 วัน ปิดการจราจรเพิ่มมากขึ้น เหตุการณ์ยืดเยื้อเกิน 7 วัน หรือ เกิดเหตุจลาจล การเดินทางมา อภ. การเดินทางมา อภ. ได้ แต่ไม่สะดวก มีรถบริการรับพนักงานปกติ (เช้า) การเดินทางมา อภ. ไม่สะดวกมากขึ้น ไม่สามารถเดินทางมา อภ. ได้ การผลิต ผลิตปกติ แต่เน้นผลิต ยา Life Saving Drug 3 รายการ และ ยาเม็ด 10 รายการ และยาจิตเวช ผลิตยาเพียงบางส่วน พนักงานฝ่ายผลิตและฝ่ายประกันที่ลงชื่อไว้ ให้ไปทำงานที่รังสิต หยุดผลิต Maintain ระบบอย่างเดียว การขนส่งยา ขนส่งได้ปกติ (โดยใช้รถส่งยาด่วน) มีสถานีสำรองที่ อคส.(ราษฎร์บูรณะ), โรงงานยารังสิต, สาขาภาค, ร้านยา ใช้รถมอเตอร์ไซด์ (กรณีเร่งด่วน)ประสานงานกับรถรพ. ให้ส่งยาแทน (ติดต่อกับ ผอฝ.บริหารพัสดุฯ) ใช้ อคส.(ราษฎร์บูรณะ) เป็นสถานที่ปฏิบัติงานหลัก, (โดยใช้รถส่งยาด่วน) เน้นการส่งยาจำเป็นตามที่สถานพยาบาลแจ้งความต้องการ สาขาภาคเป็นศูนย์กระจายยา ระบบ IT ระบบสามารถใช้งานได้เต็มรูปแบบ + สำรองที่รังสิตบางส่วน กรณีตัดไฟ ใช้ Server ที่ศูนย์สำรองฉุกเฉิน (DR Site : CAT) โดยใช้งานภายนอกได้ผ่าน Internet พนักงาน มาทำงานตามปกติ ทีม IRT พิจารณาทบทวนสถานการณ์ เพื่อให้ ผอ.อภ.ใช้ตัดสินใจประกาศระดับของภาวะวิกฤติ พนักงานบางส่วนที่จำเป็นต้องปฏิบัติงานให้นอนค้างที่ อภ. ประกาศสั่งหยุดงาน มี Key Person ค้างคืน เพื่อ Maintain ระบบ แจ้งข่าว พนักงานสามารถสอบถามข้อมูลได้ตลอด 24 ชม. ที่เบอร์ 02-203 - 8888 และ 02-203 - 8770 Internet, Intranet, www.gpoproduct.com/sos และช่องทางที่เป็นตัววิ่งหน้าจอ TV ช่อง 11 (NBT)