การจัดการสถานการณ์ในภาวะวิกฤติ เพื่อรองรับการชุมนุมประท้วง 10 มกราคม 2557
โครงสร้างทีมจัดการภาวะวิกฤติและการกอบกู้กิจกรรมสำคัญ (Business Continuity and Crisis Management Team : BCMT) ผู้อำนวยการ อภ. ประธาน รองผู้อำนวยการทุกท่าน กรรมการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการทุกท่าน ผู้เชี่ยวชาญพิเศษทุกท่าน ผู้อำนวยการฝ่าย/ผู้จัดการโรงงาน ทุกท่าน ผู้อำนวยการสำนักอำนวยการ เลขานุการ ผู้อำนวยการกองบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่ความรับผิดชอบ - พิจารณาขอบเขตวิกฤติการณ์และประเมินสถานการณ์ที่เกิดขึ้น - พิจารณาตัดสินใจภาวะวิกฤติ เพื่ออนุมัติใช้แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ สั่งการให้ ผอ.ฝ่าย/ผู้จัดการโรงงาน ที่ได้รับผลกระทบ นำแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจขององค์การ/ หน่วยงานมาใช้ ติดตามและรายงานสถานการณ์ - ชี้แจงหรือให้ข้อมูลข่าวสาร ภายในและภายนอกองค์กร - อนุมัติงบประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน
โครงสร้างทีมจัดการเหตุขัดข้อง (Incident Response Team: IRT) ผู้อำนวยการสำนักอำนวยการ ประธาน ผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล กรรมการ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารพัสดุและผลิตภัณฑ์ ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาดและการขาย ผู้อำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีและวิศวกรรม ผู้อำนวยการกองเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้อำนวยการกองประชาสัมพันธ์ ผู้อำนวยการกองบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ผู้อำนวยการกองความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม เลขานุการ หน้าที่ความรับผิดชอบ ประเมินผลกระทบของสถานการณ์, ความเสียหายต่อบุคคล/สถานที่ปฏิบัติงาน, สิ่งอำนวยความสะดวก, ระบบ IT และระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ - ประสานงาน สนับสนุนการดำเนินการแก้ไขปัญหา กับฝ่ายที่ได้รับผลกระทบ ติดตามและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบและแนวโน้มของระดับความรุนแรงของสถานการณ์เพื่อเสนอต่อ คณะ BCMT เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจประกาศภาวะวิกฤติ - สนับสนุนการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการสื่อสาร ภายในและภายนอกองค์กร
ประกาศสั่งหยุดงาน กิจกรรม ระดับ 1 (13 ม.ค.57) ระดับ 2 ระดับ 3 ไฟฟ้า-ประปา ไม่ถูกตัด ถูกตัด / ไม่ถูกตัด ลักษณะเหตุการณ์ ตั้งเวที 7 จุด + ปิดสถานที่ราชการ 1) ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ 2) สี่แยกปทุมวัน 3) แยกราชประสงค์ 4) ห้าแยกลาดพร้าว 5) อนุสาวรีย์ชัย 6) แยกอโศก 7) สวนลุมพินี เหตุการณ์ยืดเยื้อไม่เกิน 7 วัน ปิดการจราจรเพิ่มมากขึ้น เหตุการณ์ยืดเยื้อเกิน 7 วัน หรือ เกิดเหตุจลาจล การเดินทางมา อภ. การเดินทางมา อภ. ได้ แต่ไม่สะดวก มีรถบริการรับพนักงานปกติ (เช้า) การเดินทางมา อภ. ไม่สะดวกมากขึ้น ไม่สามารถเดินทางมา อภ. ได้ การผลิต ผลิตปกติ แต่เน้นผลิต ยา Life Saving Drug 3 รายการ และ ยาเม็ด 10 รายการ และยาจิตเวช ผลิตยาเพียงบางส่วน พนักงานฝ่ายผลิตและฝ่ายประกันที่ลงชื่อไว้ ให้ไปทำงานที่รังสิต หยุดผลิต Maintain ระบบอย่างเดียว การขนส่งยา ขนส่งได้ปกติ (โดยใช้รถส่งยาด่วน) มีสถานีสำรองที่ อคส.(ราษฎร์บูรณะ), โรงงานยารังสิต, สาขาภาค, ร้านยา ใช้รถมอเตอร์ไซด์ (กรณีเร่งด่วน)ประสานงานกับรถรพ. ให้ส่งยาแทน (ติดต่อกับ ผอฝ.บริหารพัสดุฯ) ใช้ อคส.(ราษฎร์บูรณะ) เป็นสถานที่ปฏิบัติงานหลัก, (โดยใช้รถส่งยาด่วน) เน้นการส่งยาจำเป็นตามที่สถานพยาบาลแจ้งความต้องการ สาขาภาคเป็นศูนย์กระจายยา ระบบ IT ระบบสามารถใช้งานได้เต็มรูปแบบ + สำรองที่รังสิตบางส่วน กรณีตัดไฟ ใช้ Server ที่ศูนย์สำรองฉุกเฉิน (DR Site : CAT) โดยใช้งานภายนอกได้ผ่าน Internet พนักงาน มาทำงานตามปกติ ทีม IRT พิจารณาทบทวนสถานการณ์ เพื่อให้ ผอ.อภ.ใช้ตัดสินใจประกาศระดับของภาวะวิกฤติ พนักงานบางส่วนที่จำเป็นต้องปฏิบัติงานให้นอนค้างที่ อภ. ประกาศสั่งหยุดงาน มี Key Person ค้างคืน เพื่อ Maintain ระบบ แจ้งข่าว พนักงานสามารถสอบถามข้อมูลได้ตลอด 24 ชม. ที่เบอร์ 02-203 - 8888 และ 02-203 - 8770 Internet, Intranet, www.gpoproduct.com/sos และช่องทางที่เป็นตัววิ่งหน้าจอ TV ช่อง 11 (NBT)